Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลอจิกเกต (Logic Gate).
Chapter 3 Interpolation and Polynomial Approximation
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Review of Ordinary Differential Equations
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
DSP 7 Digital Filter Structures โครงสร้างตัวกรองดิจิตอล
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Object-Oriented Analysis and Design
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Treatment of Experimental result
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
(Internal energy of system)
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
DSP 8 FIR Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอลแบบ FIR
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
Week 6 การทำซ้ำโดย for loop
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
วงรี ( Ellipse).
4 The z-transform การแปลงแซด
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
Ch 9 Second-Order Circuits
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University 152-315 Signal and System สัปดาห์ที่ 12 Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University การวิเคราะห์ระบบ LTI ด้วยสมการผลต่าง (LTI system using difference equation) สมการผลต่างแบบเชิงเส้นอันดับที่ สัญญาณอินพุต สัญญาณเอาต์พุต ค่าคงที่ เขียนให้อยู่ในรูปที่กระทัดรัด Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University การวิเคราะห์ระบบ LTI ด้วยสมการผลต่างแบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ 1. ระเบียบวิธีแบบคลาสสิค กำหนดให้เอาต์พุต ผลตอบสนองธรรมชาติที่เป็นผลมาจากพลังงานสะสมภายในระบบ ผลตอบสนองบังคับที่เป็นผลมาจากสัญญาณอินพุตของระบบ การหาค่าของเอาต์พุต มีขั้นตอนเช่นเดียวกันกับวิธีการของสมการอนุพันธ์ 1. การหาผลตอบสนองธรรมชาติ : จะกำหนดให้เทอมที่เป็นอินพุต Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University ได้ผลตอบสนองตามธรรมชาติเป็น แทนค่า Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University เนื่องจาก ได้สมการคุณลักษณะ (characteristic equation)ของระบบ LTI แบบเวลาไม่ต่อเนื่อง โดยที่ กรณีที่ค่าของ แตกต่างกันทั้งหมด จะได้รูปแบบของผลตอบสนองธรรมชาติ เป็น เป็นค่าคงที่ซึ่งหาได้จากพลังงานสะสมภายในของระบบหรือค่าเงื่อนไขเริ่มต้น Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University 2. การหาผลตอบสนองบังคับ : เนื่องจาก เป็นผลตอบสนองบังคับที่ขึ้นอยู่กับสัญญาณอินพุตเท่านั้น จึงมีรูปแบบเดียวกับสัญญาณอินพุต ดังแสดงในตาราง โดยที่ เป็นค่าคงที่ซึ่งหาได้จากสัญญาณอินพุต Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University 3. การหาค่าสัมประสิทธิ์ ค่าสัมประสิทธิ์ค่าคงตัวที่ยังไม่ทราบค่าในเทอม หาได้จากค่าเงื่อนไขเริ่มต้นหรือพลังงานภายในระบบ โดยค่าเงื่อนไขเริ่มต้นต้องมีจำนวนเท่ากับอันดับของระบบ ตัวอย่าง กำหนดให้ระบบ LTI หนึ่งมีสมการของระบบเป็น จงหาผลตอบสนองของระบบ เมื่อสัญญาณอินพุตเป็น และ วิธีทำ ขั้นตอนหาค่า แบ่งได้ดังนี้ คือ Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University 1. หาค่า จากสมการของระบบ กำหนดให้ และแทน 2. หาค่า เมื่อ จากตาราง เมื่อนำไปแทนในสมการของระบบ Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University 3. หาค่าสัมประสิทธิ์ จากค่า และ จากขั้นตอนที่ 1 และ 2 เมื่อ Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University 2. ระเบียบวิธีการวนซ้ำ (iteration method) จากสมการของระบบที่อยู่ในรูปสมการผลต่างอันดับที่ และมีค่าเงื่อนไขเริ่มต้นเป็น โดยที่ หาค่า ได้ด้วยการแทน Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่ ผ่านมา จงหาค่า ด้วยวิธีการวนซ้ำ วิธีทำ จากสมการของระบบจะได้ว่า จากเงื่อนไขเริ่มต้น Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University การหาผลตอบสนองของระบบ LTI อินพุตเป็นสัญญาณเอกซ์โปเนนเชียลเชิงซ้อน สัญญาณอินพุตของระบบ โดยที่ และ เป็นค่าคงที่ ได้สัญญาณเอาต์พุต กำหนดให้สัญญาณอินพุตที่เป็นฟังก์ชันเชิงซ้อน โดยที่ และ เป็นค่าคงที่เชิงซ้อน ผลตอบสนองในสภาวะคงตัว Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University โดยที่ ฟังก์ชันถ่ายโอนของระบบ Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University ถ้ากำหนดให้ และ Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University ตัวอย่าง กำหนดให้ระบบหนึ่งแทนด้วย จงหา ก. ฟังก์ชันถ่ายโอนของระบบ ข. ผลตอบสนองในสภาวะคงตัว กำหนดให้ วิธีทำ ข. จาก Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University

Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University ความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบสนองอิมพัลส์และฟังก์ชันถ่ายโอนของระบบ LTI จากแบบจำลองของระบบ LTI แบบเวลาไม่ต่อเนื่องในรูปแบบของคอนโวลูชันแบบดิจิตอล ฟังก์ชันถ่ายโอน ว่าเป็นการแปลงแซดของผลตอบสนองอิมพัลส์ Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University