สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
บทที่ 8 Power Amplifiers
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การแปลงภาพสีเทาให้เป็นภาพขาวดำ
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Ch 12 AC Steady-State Power
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)

จุดประสงค์การเรียนรู้ หาความสัมพันธ์ของกำลังไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าสามเฟสได้ คำนวณหาค่าตัวแปรต่างๆการเชื่อมต่อของแหล่งจ่ายและโหลดที่สมดุลได้ คำนวณหาค่าตัวแปรต่างๆการเชื่อมต่อของแหล่งจ่ายและโหลดที่ไม่สมดุลได้ สามารถแปลงโหลดแบบเดลต้าเป็นวายได้ทั้งกรณีโหลดสมดุลและไม่สมดุล สามารถแปลงโหลดแบบวายเป็นเดลต้าได้ทั้งกรณีโหลดสมดุลและไม่สมดุล

เนื้อหา ความสัมพันธ์ของกำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าสามเฟส การต่อแหล่งจ่ายแบบเดลต้า การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดไม่สมดุล แบบ Y- Y, Y- ,-Y, - บทสรุป

ความสัมพันธ์ของกำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าสามเฟส กำลังไฟฟ้าที่เป็นแรงดันเฟสและกระแสเฟสต่อเฟส กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าจินตภาพ กำลังไฟฟ้าที่เป็นแรงดันไลน์และกระแสไลน์ต่อเฟส กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าจินตภาพ กำลังไฟฟ้าทั้งสามเฟส กำลังไฟฟ้าจริง กำลังไฟฟ้าจินตภาพ

กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน กำลังไฟฟ้าปรากฏ

ในการพิสูจน์หาค่ากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยของระบบไฟฟ้าสามเฟสที่โหลดหาได้จาก เมื่อ เป็นค่าอาร์เอ็มเอส

ตัวอย่างที่ 1 การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดที่สมดุลแบบ Y- Y กำหนดให้แหล่งจ่าย และอิมพิแดนซ์ของโหลด (ก) จงหากระแสในแต่ละเฟส (ข) จงหากำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่จ่ายไปยังโหลดทั้งสาม (ค) จงหากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยและกำลังจินตภาพที่โหลดทั้งสามได้รับ

กระแส กระแส กระแส กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่เฟส A กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนรวมที่จ่ายไปยังโหลดทั้งสาม P Q

ตัวอย่างที่ 2 การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดที่สมดุลแบบ Y- Y กำหนดให้ เมื่อ (ก) จงหากระแสในแต่ละเฟส (ข) จงหากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่จ่ายไปยังโหลดทั้งสาม (ค) จงหากำลังไฟฟ้าเฉลี่ยโหลดทั้งสามได้รับ (ง) จงหากำลังไฟฟ้าที่สูญเสียในสายส่ง

การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดที่สมดุลแบบ Y-Y ที่คิดต่อเฟส ค่าอิมพิแดนซ์สมมูล

กระแสเฟสเซอร์ในเฟส a แรงดันโหลดที่เฟส A กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่แหล่งจ่ายต่อเฟส W

กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่โหลดต่อเฟส กำลังไฟฟ้าที่สูญเสียในสายส่งต่อเฟส กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่แหล่งจ่ายทั้งสามเฟส กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่โหลดทั้งสามเฟส กำลังไฟฟ้าที่สูญเสียในสายส่งทั้งสามสาย กำลังไฟฟ้าที่จ่ายโดยแหล่งจ่าย = กำลังไฟฟ้าที่สูญเสียในสายส่ง+กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่โหลดได้รับ

การต่อแหล่งจ่ายแบบเดลต้า

ความสัมพันธ์ของแต่ละแหล่งจ่าย แรงดันไลน์ของแหล่งจ่ายแบบเดลต้า แรงดันเฟสของวงจรสมมูลแบบวาย

ตัวอย่างที่ 3 วงจรการเชื่อมต่อของแหล่งจ่าย และโหลดที่สมดุลแบบ -Y กำหนดให้ จงหากระแสไลน์ จงหาแรงดันเฟสที่โหลด จงหาแรงดันไลน์ที่โหลด จงหากำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่จ่ายโดยแหล่งจ่าย ที่สายส่งและที่โหลดต่อเฟส

วงจรสมมูลเฟสเดียว แรงดันเฟสที่เฟส a อิมพิแดนซ์ที่เฟส a

กระแสไลน์ แรงดันเฟสที่โหลด

แรงดันไลน์ที่โหลดแต่ละตัว กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่จ่ายโดยแหล่งจ่าย

กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนสายส่ง กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่โหลด

การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดสมดุลแบบ Y- การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดสมดุลแบบ

กรณีที่โหลดสมดุล และ การเชื่อมต่อแหล่งจ่ายและโหลดสมดุลแบบ Y- เมื่อโหลดต่อแบบเดลต้า แรงดันไลน์ที่โหลดเป็นแรงดันตกคร่อมอิมพิแดนซ์ของโหลดแต่ละตัว กำหนดให้ไม่มีค่าอิมพิแดนซ์ที่สายส่ง

กำหนดให้แรงดันเฟสของแหล่งจ่าย แรงดันไลน์ กระแสเฟสที่โหลด กระแสเฟส และ มีค่าขนาดเท่ากันกับกระแส มุมเฟสจะต่างเฟสกัน ค่ากระแสไลน์ ที่โหนด A

การต่อโหลดสมดุลแบบเดลต้า โหนด B โหนด C กระแสไลน์ การต่อโหลดสมดุลแบบเดลต้า ขนาดของกระแสในแต่ละเฟสจะมีค่าเท่ากัน ขนาดของกระแสในแต่ละสายหรือกระแสไลน์มีค่าเท่ากัน มุมของกระแสในแต่ละเฟสจะต่างเฟสกันอยู่ มุมของกระแสไลน์จะตามหลังกระแสเฟสอยู่ สมการ เมื่อ

การแปลงโหลดที่ต่อแบบเดลต้าให้เป็นโหลดที่ต่อแบบวาย กระแสไลน์ ตัวอย่างที่ 4 ระบบไฟฟ้าสามเฟสที่สมดุลต่อแบบ Y- โดยที่แหล่งจ่าย ลำดับเฟสแบบบวกความถี่ 60 Hz แรงดัน โหลดทั้งสามชุดประกอบด้วยตัวต้านทาน 10  ต่ออนุกรมกับตัวเหนี่ยวนำ 20 mH ส่วนสายส่งมีค่าอิมพิแดนซ์ที่สายน้อยมาก จงหากระแสในแต่ละเฟสที่โหลด จงหากระแสในแต่ละไลน์

อิมพิแดนซ์ของตัวเหนี่ยวนำ อิมพิแดนซ์โหลด ค่าแรงดันไลน์โหลดมีค่าเท่ากับแรงดันไลน์ที่แหล่งจ่าย กระแสเฟสที่โหลด หากระแสไลน์ การแปลงโหลดที่เป็นเดลต้าให้เป็นโหลดแบบวาย กระแสไลน์

ตัวอย่างที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟสที่แหล่งจ่ายสมดุลประกอบด้วยโหลดที่ไม่สมดุล โหลดที่ 1 กำลังไฟฟ้า 24 kW ที่ ตัวคูณกำลังเป็น 0.6 แบบล้าหลัง (lagging) โหลดที่ 2 กำลังไฟฟ้า 10 kW ที่ตัวคูณกำลังเป็นหนึ่ง โหลดที่ 3 กำลังไฟฟ้ามีค่าเป็น 12 kVA ที่ตัวคูณกำลังเป็น 0.8 แบบนำหน้า (leading) ถ้าแรงดันไลน์ที่โหลดมีค่าเป็น 208 Vrms ที่ความถี่ 50 Hz (ก)จงหากระแสไลน์ (ข)จงหาตัวคูณกำลังที่โหลดทั้งหมด (ค)จงหาแรงดันไลน์และตัวคูณกำลังที่แหล่งจ่ายถ้าอิมพิแดนซ์ของสายส่งแต่ละเฟสมีค่าเป็น โหลดที่ 1 วิธีทำ กระแส มุมเฟสระหว่างแรงดันและกระแส มุมของกระแสมีค่าเป็น -53.13 เมื่อมุมของแรงดันมีค่าเป็นศูนย์องศา กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่โหลด 1

โหลด 2 กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน โหลด 3 หาค่ามุมเฟสคูณกำลังเป็น 0.8 แบบนำหน้า (leading) กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อน กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนรวม ตัวคูณกำลังที่โหลด

กระแสไลน์สามเฟส กำลังไฟฟ้าที่สายส่ง กำลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่จ่ายโดยแหล่งจ่าย ตัวคูณกำลังที่แหล่งจ่ายเป็น แรงดันไลน์ที่แหล่งจ่าย

บทสรุปสัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส การเชื่อมต่อของแหล่งจ่ายและโหลด การเชื่อมต่อแบบวายและเดลต้า (Y-) การเชื่อมต่อแบบวายและวาย (Y-Y) การเชื่อมต่อแบบเดลต้าและเดลต้า (-) การเชื่อมต่อแบบเดลต้าและวาย (-Y) ระบบไฟฟ้าสามเฟสไม่สมดุลจะพิจารณาแต่ละเฟส แปลงโครงสร้างการเชื่อมต่อจากแบบวายเป็นเดลต้า หรือแปลงจากเดลต้าเป็นวายได้โดยง่าย