แบบสังเกต (Observation form)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

รายงานธุรกิจ.
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
บทที่ 8 การเตรียม ประมวลผลข้อมูล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
รูปแบบการวิจัย Research Design
ระบบข้อสอบออนไลน์.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
องค์ประกอบของการสัมมนา
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การจัดกระทำข้อมูล.
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
“Backward” Unit Design?
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวิเคราะห์ผู้เรียน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวทางการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2550 รัชนีกร กุญแจทอง นักวิชาการสาธารณสุข 7 ว. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ.
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
แนวความคิดเกี่ยวกับการใช้ เวลาอย่างถูกต้อง - เวลาเป็นทรัพยากรที่มี ความสำคัญที่สุด - เวลาเป็นทรัพยากรที่มี ลักษณะพิเศษ เทคนิคการวางแผนและการ บริหารเวลา.
การสังเกตการณ์ (Observation).
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
บทที่ 7 การรวบรวมข้อมูลวิจัย
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การฟังเพลง.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แบบสอบถามที่ดี ผู้ตอบจะตอบอย่างสะดวกใจมากกว่าการสัมภาษณ์
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบสังเกต (Observation form) แบบสังเกต (Observation form) เป็นการเก็บรวมรวบข้อมูลโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าของผู้สังเกตในการศึกษา การสังเกตแบ่งตามวิธีการสังเกตได้ 2 ประเภท คือ 1. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) การสังเกตแบบนี้จะเป็นลักษณะที่ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมหรือทำกิจกรรมร่วมกับ ผู้ถูกสังเกต โดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัวว่าถูกสังเกตอยู่ 2. การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant observation) การสังเกตแบบนี้จะเป็นลักษณะผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมหรือไม่ได้เข้าทำกิจกรรมกับผู้สังเกต ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา หลักการในการสังเกต ขณะสังเกตต้องมีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการสังเกตที่ชัดเจน ทำการสังเกตต้องสังเกตอย่างรอบคอบ ตั้งใจ และไม่ทำแบบ ผิวเผิน เมื่อสังเกตเห็นสิ่งใดให้ทำการจดบันทึกไว้ทันที และไม่ลำเอียงในการจดบันทึก ในการสังเกตบางเรื่องควรจะมีการสังเกตซ้ำ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลการสรุปที่เที่ยงตรง ในการสังเกตต้องใช้ผู้ที่มีความรอบรู้ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา แบบสอบถาม แบบสอบถาม หมายถึง ชุดของข้อคำถามหรือข้อความเฉพาะเรื่องที่ผู้ประเมินต้องการ เพื่อให้ผู้ที่ถูกถาม ตอบคำถาม ส่วนมากเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น หรือความรู้สึกนึกคิด บุคลิกภาพ ค่านิยมและทัศนคติของผู้ตอบ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

รูปแบบของคำถามในแบบสอบถาม จะแบ่งออกเป็น 6 ประเภท 1.คำถามที่มีคำตอบให้เลือก 2 ทาง (Dichotomous Questions) 2.คำถามที่มีหลายคำตอบให้เลือก (Multiple Choice Questions) 3.คำถามที่ผู้ตอบเลือกได้หลายคำตอบ (Checklist Questions หรือ Multiple Responses) 4.คำถามที่ให้ผู้ตอบใส่ลำดับที่ (Ranking Question) 5.คำถามที่แสดงถึงระดับความเห็นด้วยหรือชอบ (Scale Questions) 6.คำถามเปิด (Open-ended Questions) ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา ข้อดีของแบบสอบถาม ลงทุนน้อยกว่า เมื่อเทียบกับการสัมภาษณ์ เพราะแบบสอบถามลงทุนด้วยค่าพิมพ์และส่งไปยังผู้รับ ส่วนการสัมภาษณ์ต้องออกไปสัมภาษณ์ทีละคน ย่อมเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่า การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ จะไปถึงผู้รับแน่นอนกว่า การออกไปสัมภาษณ์ซึ่งผู้ตอบอาจไม่อยู่บ้าน ไม่ว่าง หรือไม่ยินดีพบผู้สัมภาษณ์ การส่งแบบสอบถามไปให้คนจำนวนมาก ย่อมสะดวกกว่าการสัมภาษณ์มากนัก แบบสอบถามจะไปถึงมือผู้รับได้ทุกแห่งในโลกที่มีการไปรษณีย์ ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์ บรรยาย ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา