Data Structure and Algorithm

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงสร้างข้อมูลสแตก มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List)รูปแบบหนึ่ง และมีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มและลบรายการเพียงด้านเดียว ซึ่งเป็นด้านบนสุดของสแตก(Top.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Course Orientation Data Structure and Algorithms ( )
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Principles of Programming
Data Type part.II.
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
การเรียงลำดับและการค้นหาแบบง่าย
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
Structure.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Arrays.
Surachai Wachirahatthapong
C Programming Lecture no. 9 Structure.
MySQL.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
อาร์เรย์ ชื่อ น. ส. พิชชากานต์ ไชยชาญยุทธ์ เลขที่ 22 ชั้นสทส.1/1.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
SQL Structured Query Language.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 12 Engineering Problem 2
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
Week 12 Engineering Problem 2
ตัวแปรชุด Arrays.
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดการฐานข้อมูล.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
CHAPTER 12 SQL.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
SQL Structured Query Language.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
Chapter 1 : Introduction to Database System
Data Structure and Algorithms
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Week 13 Basic Algorithm 2 (Searching)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม สัปดาห์ที่แล้ว ชนิดของข้อมูล เชิงเดี่ยว เชิงโครงสร้าง โปรแกรมแบบมีโครงสร้างที่ดี การประเมินผลโปรแกรม และการจัดสรรหน่วยความจำ อย่าลืมส่งการบ้านอาจารย์ Ref: อ.สังเวียน สิทธิเวช sungwian@yahoo.com

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม โครงสร้างข้อมูลแบบอะเรย์ (Array Data Structure) โครงสร้างของอะเรย์ คุณลักษณะของอะเรย์ การเรียงข้อมูลในอะเรย์ การค้นข้อมูลในอะเรย์ โครงสร้างของอะเรย์ขนาดต่าง ๆ (ขนาด 1,2,3 มิติ) อะเรย์ในโปรแกรมภาษา Visual Basic การเก็บข้อมูลแบบระเบียน (record)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม โครงสร้างของอะเรย์ กลุ่มของข้อมูลชนิดเดียวกัน เรียงกันอยู่อย่างมีแบบแผน เข้าหาค่าข้อมูลโดยการอ้างตำแหน่ง subscript จำนวนมิติของอะเรย์ หรือ array dimension

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม ลักษณะของอะเรย์ ชื่อของอะเรย์ ขนาดของอะเรย์แต่ละช่อง และมิติของอะเรย์ ค่าสูงสุด (upper bound) และค่าต่ำสุด (lower bound) ในแต่ละมิติ Dim A(1 to 50) As String

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม ตัวอย่าง A (-5, 10) ชื่ออะเรย์ A array name ค่าต่ำสุด -5 lower bound (l) ค่าสูงสุด 10 upper bound (u) จำนวนช่องของอะเรย์ สูตรคือ A (l,u) = u-l+1 จำนวนช่องของอะเรย์ = 10 – (-5) + 1 = 16 ช่อง

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเรียงข้อมูลในอะเรย์ (array sorting) จำนวนคำสั่งที่ต้องใช้ N2 ครั้ง กรณีอะเรย์ขนาด 10 ช่อง จะต้องทำการประมวลผล = 10x10 ครั้ง เรียกว่า selection sort การค้นข้อมูลในอะเรย์ (array searching) จำนวนการเทียบเท่ากับ N ครั้ง เรียกว่า linear search

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์ อะเรย์ขนาด 1 มิติ การเข้าถึงข้อมูล (ในระดับโปรแกรมเมอร์) A(1), A(2), A(3), … , A(n) การเข้าถึงข้อมูล (ในระดับ system programmer) Address A(i) = address A(1) + C(i-1)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม …. A(i) A(n-1) A(n) มีจำนวน= i-1 ค่า, ระยะทาง=C(i-1) Array A(n)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์ อะเรย์ขนาด 2 มิติ รูปแบบของการเข้าถึงข้อมูล A(1:M, 1:N) Array A มีจำนวนค่า= M แถว, N คอลัมน์ A(1,1) A(1,2) A(1,3) A(1,N) A(2,1) A(2,2) A(2,N) A(3,1) A(3,N) A(M,1) A(M,N)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์ 2 มิติ (ต่อ) เก็บแบบ row major หรือ lexicographic order ลักษณะการเก็บจะนับเรียงเป็นแถวต่อ ๆ กันไป A(1,1), A(1,2), … A(1,N) A(2,1), A(2,2), … A(2,N) A(3,1) … A(M,1) … A(M,N) การเข้าถึงข้อมูล แต่ละแถวจะมีความยาวของเนื้อที่ = C * N จำนวน byte ของข้อมูลแต่ละตัว (C) * จำนวนสมาชิกในแต่ละแถว (N)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์แบบ 2 มิติ (ต่อ) การเข้าถึงข้อมูลในตำแหน่ง A(i,j) แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ i-1 แถวที่ i. แถวที่ M ตำแหน่ง 1 - N ตำแหน่งที่ 1 ตำแหน่งที่ j ตำแหน่งที่ j-1 Address A(I,j) = address A(1,1) + C(i-1)N + C(j-1)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์แบบ 2 มิติ (ต่อ) เก็บข้อมูลแบบ column major การเก็บข้อมูลจะเรียงกันดังนี้ A(1,1), A(2,1), A(3,1) … A(M,1) A(1,2), A(2,2), A(3,2) … A(M,2) … A(1,N), A(2,N), A(3,N) … A(M,N) ใช้กับโปรแกรมบางภาษา เช่น ภาษา FORTRAN

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์ อะเรย์ขนาด 3 มิติ รูปแบบของการเข้าถึงข้อมูล A(1:M,1:N,1:L) M L N

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บอะเรย์ในคอมพิวเตอร์แบบ 3 มิติ (ต่อ) การเก็บข้อมูลทำได้ทั้งแบบ row major และ column major ลำดับการเก็บค่าจะเป็นดังนี้ A(1,1,1), A(1,1,2), A(1,1,3), … A(1,1,L) A(1,2,1), A(1,2,2), A(1,2,3), … A(1,2,L) A(1,N,1), A(1,N,2), A(1,N,3), … A(1,N,L) A(M,N,1), A(M,N,2), A(M,N,3), … A(M,N,L) Address A(i,j,k)= addr(1,1,1) + C(i-1)MN + C(j-1)N + C(k-1) หาแบบ 3 มิติ หาแบบ 2 มิติ หาแบบ 1 มิติ

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การใช้อะเรย์ในโปรแกรมภาษา Visual Basic การกำหนดอะเรย์ Dim A(100) as String อะเรย์แบบคงที่และไม่คงที่ Dim A(1 to 100) as String การลบข้อมูลออกจากอะเรย์ Erase A

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การใช้อะเรย์ในโปรแกรมภาษา Visual Basic การกำหนดอะเรย์ Dim A(100) as String

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การใช้อะเรย์ในโปรแกรมภาษา Visual Basic (ต่อ) อะเรย์แบบคงที่และไม่คงที่ Dim A(1 to 100) as String Redim A(50) Redim A(25,25)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การใช้อะเรย์ในโปรแกรมภาษา Visual Basic (ต่อ) การลบข้อมูลออกจากอะเรย์ Erase A

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บข้อมูลแบบระเบียน (record) เป็นข้อมูลเชิงโครงสร้าง ในภาษาระดับสูงส่วนใหญ่จะมี High level programming language COBOL, RPG, PL/1, Pascal, C, VB เป็นแนวทางการสร้างระบบฐานข้อมูล Database Management Oracle, DB2, Access, …

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บข้อมูลแบบระเบียน (record) (ต่อ) สมาชิก แต่ละตัวจะมีชนิด (Data type) แตกต่างกันได้ โครงสร้าง สมาชิกแต่ละตัวมีชื่อกำกับ เรียกว่า ฟิลด์ (field) การดำเนินการเกี่ยวกับระเบียน การดึงค่ามาใช้ (retrieve) การปรับเปลี่ยนหรือกำหนดค่าให้ (update)

Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม การเก็บข้อมูลแบบระเบียน (record) (ต่อ) No. Field name Data type Size 1 Student-ID Numeric 7 2 Name Character 40 3 Birthday Date 12