AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
สนามกีฬา.
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
Global Recommendation for Physical Activity
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
เรื่องวิธีคลายเครียดของวัยรุ่น
นางสาวปาริชาติ ทัศนะธรรม เลขที่ 15 นางสาวรัตธนา มั่นคง เลขที่ 17
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
ความดันโลหิตสูงและการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
การออกกำลัง ป้องกันและลดพุง
ข้อเท็จจริงที่ควรรู้
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Training in Bilateral Amputation
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การคำนวณพลังงาน.
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเคลื่อนไหวออกแรง/ ออกกำลังกายในสถานประกอบการ
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
เวียง ( ป่าเป้า ) หัวใจดี Aerobic Delivery by นวลสวาท.
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
พลศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6 หลักการเคลื่อนไหวร่างกาย
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
Rehabilitation In COPD
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
9 เหตุผลดีๆ ที่ควรออก กำลังกาย. ข้อ 1. สนุก ถ้าเอาแต่นั่งๆ นอนๆ รับรองว่า พุงพะโล้ ท้องโย้ออกมา ประจานแน่ๆ.
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
ประโยชน์ของค่ายประถมศึกษา
รวมพลังขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย ลดภัยจากโรคไม่ติดต่อ “ ออกกำลังกายกัน เถอะ ” นพ. ภักดี สืบนุการณ์ รวมพลังขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย.
การออกกำลังกายและนันทนาการ อ. ฉฬาพิมพ์ ชัยสุทธินันท์
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม

แอโรบิกดานซ์ (Aerobic Dance) ทักษะการ เคลื่อนไหวเบื้องต้น (Basic movements) ทักษะการเต้นรำ (Dance step) การบริหารกาย (Calisthenics) นำมาจัดปรับความหนักเบาตามความเหมาะสมของผู้ฝึก

2.กิจกรรมที่ส่งเสริมกล้ามเนื้อให้แข็งแรง 1.กิจกรรมแอโรบิก กิจกรรม บริหารกาย 3.กิจกรรมการยืดเหยียด 2.กิจกรรมที่ส่งเสริมกล้ามเนื้อให้แข็งแรง

3 ขั้นตอนการสอน Aerobic Dance ช่วงอบอุ่นร่างกาย(Warm up) - หัวใจ / หายใจ - ข้อต่อ กล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ 2. ช่วงแอโรบิกหรือช่วงงาน(Aerobic workout) 3. ช่วงลดงานเพื่อปรับสภาพ(Cool down) - หัวใจ - บริหารร่างกายเฉพาะส่วน(Floor work) - ยืดเหยียดข้อต่อและกล้ามเนื้อ(Stretching)

แผนภูมิแสดงระยะเวลาและความหนักของงานในการเต้นแอโรบิก ชีพจร ระดับการเต้นหัวใจสูงสุด 85% ช่วงการฝึกหัวใจ การเต้นแอโรบิกเพื่อฝึกหัวใจ 65% อบอุ่นร่างกาย ผ่อนคลาย 15 นาที เวลา 60 นาที แผนภูมิแสดงระยะเวลาและความหนักของงานในการเต้นแอโรบิก

Target Heart Rate (THR) อัตราการเต้นหัวใจเป้าหมาย THR= 65%_85% ของMHR MHR (Maximum Heart Rate) อัตราการเต้นหัวใจสูงสุดของ บุคคลนั้น =220-อายุ 220 เป็นตัวเลขอัตราการเต้นหัวใจสมมุติได้จากการถดถอยทางสถิติ) 65% _ 85% ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด คือ ช่วงความหนักที่ต้องการ

ตัวอย่าง การคำนวณหาอัตราการเต้นหัวใจเป้าหมาย (THR) ของบุคคลที่มีอายุ 40 ปี อัตราการเต้นหัวใจสูงสุด MHR คือ 220 - อายุ(40) = 180 ครั้ง/นาที ความหนักที่ต้องการ 65%ของ MHR (180X65%) = 117 ครั้ง/นาที ความหนักที่ต้องการ 75%ของ MHR (180X75%) = 135 ครั้ง/นาที ความหนักที่ต้องการ 85%ของ MHR (180X85%) = 153 ครั้ง/นาที

อัตราการเต้นหัวใจขณะออกกำกำลังกายตามอายุ อายุ(ปี) 65% 75% 85% 20 130 150 170 25 127 146 166 30 124 143 162 35 120 139 157 40 117 135 153 45 114 131 149 50 111 128 145 55 107 140 60 104 136 65 101 116 132

การเคลื่อนไหวใน Aerobic Dance Low – Impact (แบบแรงกระแทกต่ำ) High – Impact (แบบแรงกระแทกสูง)

Low – Impact (แบบแรงกระแทกต่ำ) Marching Walking Step touch Toe touch / Heel touch Leg curl (Hamstring curl) Grapevine E-Z walk(easy walk) / V–Step Box step Knee lift / step knee lift kick / step kick Schottische Mambo Chasse’ / cha cha cha Two – Step Lunge Squat

High – Impact (แบบแรงกระแทกสูง) RUN Hop / Step Hop Jump Star Jump Jumping Jack Pendulum Skip Gallop Twist Leap Slide Tap Pony Rocking horse Quick Heel dig

Movement Direction ทิศทางการเคลื่อนไหว

Fwd. Rdf. Ldf. L.Side OTS R.Side Circle Rdb Ldb. Bwd.

L.Shape V.Shape U.Shape Z.Shape T.Shape X.Shape I.Shape Zig Zag

Square Shape Triangle Shape Diamond Shape Figure eight S.Shape Circle

หลักในการออกกำลังกายให้ยึดคำว่า FFITT F = FUN (สนุกสนาน เพลิดเพลิน) F = FREQUENCY (ความบ่อย) MIN = 3 ครั้ง / สัปดาห์ MAX = ทุกวัน ควรมีวันพัก 1 วัน I = INTENSITY (ความหนัก–เบา) ขึ้นอยู่กับอายุ T = TIME (เวลา) เวลาที่ควรใช้ประมาณ 15 – 45 นาที T = TYPE (ชนิด) เช่น การเดิน, การวิ่ง, ขี่จักรยาน, ว่ายน้ำ, เต้นรำ ฯลฯ