(Internal energy of system)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พิจารณาแก๊ส 1 โมเลกุล ชนผนังภาชนะ 1 ด้าน ในแนวแกน x.
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Conductors, dielectrics and capacitance
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
พลังงานอิสระ (Free energy)
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
1st Law of Thermodynamics
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การกำหนดลักษณะของตัวอักษร
ความชันและอัตราการเปลี่ยนแปลง
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
พลังงานภายในระบบ.
ตัวดำเนินการ(Operator)
การแปรผันตรง (Direct variation)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การเขียนผังงานแบบทางเลือก
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
วงรี ( Ellipse).
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
การกระทำทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Internal energy of system) พลังงานภายในระบบ (Internal  energy  of  system) พลังงานภายในระบบ คือผลรวมของพลังงานจลน์เฉลี่ยทั้งหมดของแก๊สในระบบปิดเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “ U ”

การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ  คือ ผลต่างของพลังงานภายในระบบหลังเปลี่ยนแปลง  ( U2 ) กับพลังงานภายในระบบก่อนเปลี่ยนแปลง  ( U1 ) เขียนแทนด้วย “U” เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (T) , การเปลี่ยนแปลงความดันและปริมาตร(PV)

งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตร งานกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตร   เมื่อความดันคงตัว   ผลจะทำให้แก๊สมีการขยายตัวและหดตัว โดยให้   W คือ งานที่เกิดจากแก๊สกระทำหรืองานที่เกิดจากแรงภายนอกกระทำต่อแก๊ส  นั่นคือ ค่า W เป็นบวก ( + ) เมื่อ เกิดงานที่แก๊สกระทำ จะมีผลให้แก๊สขยายตัว  ถ้าค่า W เป็นลบ ( - ) เมื่อ งานนั้นเกิดจากแรงภายนอกกระทำต่อแก๊ส จะมีผลให้แก๊สหดตัว

W = P(V2 – V1 ) เป็น บวก ( + ) เมื่อ แก๊สขยายตัว จะได้ V2  V1   จาก         W   =  Fs                                 W   =  PAs                                 W   =  P(As) จะได้       W   =  PV                                 W   =  P(V2 – V1 )                                 W   =  P(V2 – V1 )   เป็น บวก ( + )  เมื่อ แก๊สขยายตัว จะได้ V2  V1                                 W   =  P(V2 – V1 )   เป็น ลบ   ( - )   เมื่อ แก๊สหดตัว     จะได้ V1  V2     

กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์  เป็นกฎการอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า “พลังงานความร้อนทั้งหมดที่ให้แก่ระบบจะต้องมีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้นกับงานที่ทำโดยระบบนั้น” สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ DQ    =    DU  +  DW เมื่อ         Q        แทนพลังงานความร้อนที่ให้แก่ระบบ U        แทนพลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น W       แทนงานที่ระบบทำ

แต่ความเป็นจริง  ระบบของแก๊สใดๆ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงของระบบในกรณีอื่นๆได้ด้วย และเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน และกำหนดค่าเครื่องหมายได้ดังนี้