โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร พวกฮีสตามีนจำนวนมาก ขนาดของช่องท้องที่ขยายขึ้น + histamine จะไปกดช่องอก ทำให้สัตว์ตายได้ โรคท้องขึ้น
สาเหตุ 1. อาหารอุดตันในกระเพาะเนื่องจากกระเพาะไม่ย่อยอาหาร 1. อาหารอุดตันในกระเพาะเนื่องจากกระเพาะไม่ย่อยอาหาร 2. หญ้าที่กินเป็นหญ้าอ่อนมีน้ำปนมากหรือเป็นพวกพืชตระกูลถั่ว ซึ่งทำให้เกิด Fermentation มีแก๊สมาก และขณะเดียวกันก็มีความผิดปกติ ในการขย้อนอาหารมาเพื่อเคี้ยวเอื้อง เนื่องจากเป็นแก๊ส ลักษณะที่เรียกว่า stable foam 3.กินหญ้าที่เป็นพิษ เช่น Sorgham โรคท้องขึ้น
อาการ ท้องด้านซ้ายใหญ่ขึ้น เมื่อเคาะจะรู้สึกโปร่งเนื่องจากมีแก๊สอยู่ภายใน สัตว์หยุดเคี้ยวเอื้อง น้ำลายไหล อ้าปาก ยืนไม่ถนัด ยืนขาถ่าง ล้มลงนอนตะแคง ชัก ตาย สัตว์ที่เกิดท้องขึ้นอย่างรุนแรง (lateral recumbency) สัตว์อยู่ในท่าพักตามปกติ (sternal recumbency) โรคท้องขึ้น
การรักษา 1. หาวิธีลดความดันในช่องท้อง**** ล้วงอุจจาระออกจากทวารหนัก กรอกน้ำมัน ประมาณ ½ ลิตร หรือให้พวกยาขับลมแก๊ส (ขิง, ฯลฯ) พาสัตว์เดิน วิ่ง ฉีดยา เพิ่มการบีบตัวของรูเมน เช่น CarbacholR ถ้าเป็นมากจะต้องเจาะช่องท้อง 2. ฉีดยาแอนตี้ฮีสตามีน หรือยาบำรุงหัวใจ เช่น อะดรีนาลีน เข้ากล้ามเนื้อ โรคท้องขึ้น
การเจาะช่องท้อง ในสัตว์นอนตะแคง ด้านซ้ายขึ้น ใช้เครื่องมือเรียก Trocar/หลาว/มีด ที่ฆ่าเชื้อ เจาะที่นูนที่สุด พร้อมทั้งให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อในช่องท้อง ที่มาภาพ โรคท้องขึ้น
โรคไข้นม (Milk fever) ชื่อพ้อง: parturient paresis, hypocalcemia, eclampsia เป็น metabolic disease ที่พบบ่อยในโค มักเกิดร่วมกับการคลอด โดยเฉพาะ หลังคลอดเล็กน้อย ปัจจัยเสี่ยง โคนมมากกว่าโคเนื้อ โคที่อายุมาก โคที่ให้น้ำนมมาก โรคไข้นม
สาเหตุ ในขณะที่โคให้นมจะมีการสูญเสียน้ำนมมาก ทำให้มีการเสีย แร่ธาตุออกไปกับน้ำนม hypocalcemia อาหารมีแคลเซี่ยมน้อย ท้องเสีย การดูดซึมแคลเซี่ยมไม่ดี มักเกิดร่วมกับภาวะ P และ Mg ในเลือดต่ำ โรคไข้นม
อาการ เบื่ออาหาร ในขณะที่อุณหภูมิร่างกายค่อนข้างปกติ หรือลดลงเล็กน้อย กระเพาะรูเม็นหยุดทำงาน ขาแข็ง กล้ามเนื้อสั่น ทำงานไม่สัมพันธ์กัน ล้มนอน (lateral recumbency) ชัก หัวบิดมาทาง หัวไหล่เป็นรูปตัว S หัวใจเต้นเร็ว ม่านตาขยาย ท้องอืด ตาย ระยะเวลาที่แสดงอาการ ~ 10-24 ชั่วโมง ระดับ Ca ในเลือดวัดได้ 3.76 mg% โรคไข้นม
การวินิจฉัย อาการควบคู่กับปัจจัยเสี่ยงที่กล่าวมาแล้ว เจาะเลือดตรวจระดับ Ca ระดับปกติของแคลเซี่ยมในเลือด 8.8-10.4 mg/ 100 cc. โคที่เสดงอาการโรคไข้นมจะมี ระดับแคลเซี่ยมลดลงมากกว่า ครึ่งหนึ่งของระดับปกติ โรคไข้นม
การรักษา ฉีด Ca เข้าเส้นเลือดดำอย่างช้าๆ ประมาณ 8-12 gm หรือ ฉีด Ca ซึ่งอยู่ในรูป calcium borogluconate เป็นส่วนใหญ่ Calcium borogluconate เข้มข้น 30% ปริมาณ 400 ml มักจะพอเพียงสำหรับโคโดยทั่วไป ให้แบบ slow IV หากยาเย็นให้อุ่นยาก่อน หากโคไม่พลิกตัวให้พลิกโคบ้าง (ทุก 2 ชม.) ให้โคอยู่ในท่านอนคว่ำดีกว่านอนตะแคง โรคไข้นม