คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
การจัดการความผิดพลาด
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Data Type part.III.
Object and classes.
05_3_Constructor.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (2).
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Inheritance การสืบทอดคลาส
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 6 เมธอด.
ทำงานกับ File และStream
Introduction to C Language
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Java Desktop Application #4
Lec03 :: หลักการเชิงออปเจ็ค (Object Oriented Concept)
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
Object-Oriented Programming
บทที่ 3 Class and Object (2).
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
Java collection framework
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
Object Oriented Programming : OOP
Java Network Programming 1
การสืบทอด (inheritance)
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
Object-Oriented Programming
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
Debugging กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
Method and Encapsulation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object) บทที่ 2 คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)

รู้จักกับ Constructor w7_000.rar ข้อ 34, 35 รู้จักกับ Constructor เป็นเมธอดประเภทหนึ่งที่มีชื่อเดียวกับชื่อคลาส เมื่อมีการสร้างออบเจ็กต์ด้วยคำสั่ง new เมธอดนี้จะถูกเรียกใช้งานโดยอัตโนมัติ เป็นเมธอดที่ไม่มีการคืนค่าและไม่ต้องระบุคีย์เวิร์ด void ถ้าในโปรแกรมไม่มี Constructor คอมไพเลอร์ภาษา Java จะใส่ Constructor แบบ default ให้กับโปรแกรมโดยอัตโนมัติ Default Constructor จะเป็น Constructor ที่ไม่มีคำสั่งใดๆ อยู่ภายใน

การสร้าง Constructor เพื่อกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับแอตทริบิวต์หรือเมธอดต่าง ๆ ก่อนเริ่มใช้งาน Constructor สามารถรับพารามิเตอร์ได้เหมือนกับเมธอด มีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ [modifier] ClassName ([parameter]) { [statements] } โดยที่ ClassName เป็นชื่อคลาส objName เป็นชื่อออบเจ็กต์ modifier เป็นคีย์เวิร์ดที่กำหนดคุณสมบัติการเข้าถึงเมธอด parameter เป็นตัวแปรที่ใช้รับข้อมูลอาร์กิวเมนต์จากคลาส ที่เรียกใช้งาน

การสร้างใช้งาน Constructor ในการเรียกใช้งาน Constructor ก็คือการประกาศออบเจ็กต์นั้นเอง เนื่องจาก Constructor จะมีการทำงานโดยอัตโนมัตเมื่อสร้างออบเจ็กต์ใหม่ ซึ่งมีรูปแบบการสร้างออบเจ็กต์ดังนี้ ClassName objName = new ClassName ([argument]); โดยที่ ClassName เป็นชื่อคลาส objName เป็นชื่อออบเจ็กต์ argument เป็นค่าอาร์กิวเมนต์ที่จะส่งไปให้กับ Constructor พารามิเตอร์ของ Constructor จะต้องมีจำนวนและชนิดข้อมูลสอดคล้องกับอาร์กิวเมนต์ที่ส่งมาตอนประกาศออบเจ็กต์ด้วยคำสั่ง new

โปรแกรมการใช้งาน Default Constructor

โปรแกรมการใช้งาน Constructor

Overloading Constructor ภาษา Java อนุญาตให้สร้าง Constructor ได้มากกว่า 1 ตัว เรียกว่า Overloading Constructor มีหลักการเดียวกับ Overloading Method จำนวนหรือชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปในแต่ละ Constructor ต้องแตกต่างกัน คอมไพเลอร์จะเรียกใช้ Constructor ตัวใดให้ทำงานนั้น พิจารณาจากจำนวนหรือชนิดข้อมูลของอาร์กิวเมนต์ที่สอดคล้องกัน ทำให้กำหนดค่าเริ่มต้นให้กับออบเจ็กต์ได้หลายรูปแบบ

โปรแกรมการใช้งาน Overload Constructor