บทที่ 4 Method (2).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
ครั้งที่ 8 Function.
Principles of Programming
Data Type part.III.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
Structure Programming
Object and classes.
Function.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
05_3_Constructor.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
Arrays.
Use Case Diagram.
Selected Topics in IT (Java)
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
File Stream File Stream หมายถึง ท่อส่งข้อมูลไฟล์จากต้นทางไปยังปลายทาง
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
Inheritance การสืบทอดคลาส
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 เมธอด.
การสร้างฟังก์ชั่นเพื่อพัฒนาโปรแกรม Interactive C
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
การสร้างและใช้งานฟังก์ชั่น
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Array.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
Object-Oriented Programming
บทที่ 3 Class and Object (2).
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
อาร์เรย์ (Arrays).
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
Java collection framework
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
Recursive Method.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
TECH30201 Object-Oriented Programming
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 Method (2)

WEEK6 w6_000.rar การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด ข้อ 26 static method ข้อ 28 as6_000.rar การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด ข้อ 25,27

ArrayList เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้อาร์เรย์จัดเก็บข้อมูลแบบรายการลำดับที่ต่อเนื่องกัน อ้างถึงข้อมูลในลำดับใดๆ ด้วยการระบุตำแหน่ง (index) ของข้อมูลที่ต้องการ รองรับการเก็บข้อมูลประเภทออบเจ็กต์ ซึ่งเป็นอาร์เรย์ของ Reference สามารถขยายขนาดได้เองโดยอัตโนมัติ ในขณะที่อาร์เรย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดของอาร์เรย์หลังจากที่ถูกสร้างขึ้นได้

เมธอดในคลาส ArrayList เมธอด size() เป็นเมธอดหาจำนวนสมาชิกทั้งหมดของ ArrayList มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ n = arrayListName.size(); โดยที่ arrayListName เป็นชื่อของออบเจ็กต์ ArrayList ที่ต้องการหาจำนวนสมาชิก n เป็นจำนวนสมาชิกใน ArrayList ที่ได้จากคืนค่าของเมธอด

เมธอด add() เป็นเมธอดสำหรับเพิ่มสมาชิกใน ArrayList มีรูปแบบการใช้งานดังนี้  arrayListName.add(objectValue);   โดยที่ arrayListName เป็นชื่อของออบเจ็กต์ ArrayList ที่ต้องการเพิ่มสมาชิก objectValue เป็นข้อมูลที่ต้องการเพิ่มใน ArrayList ผลที่ได้จากใช้เมธอด add จะเป็นการเพิ่มสมาชิกในตำแหน่งสุดท้ายของ ArrayList หากต้องการเพิ่มสมาชิกที่ตำแหน่งใดๆ ใน ArrayList ให้ระบุตำแหน่งที่ต้องการเพิ่มสมาชิกไปด้วย   arrayListName.add(index, objectValue);   โดยที่ index เป็นตำแหน่งที่ต้องการเพิ่มสมาชิก

เมธอด get() เป็นเมธอดสำหรับหาค่าสมาชิกใน ArrayList ณ ตำแหน่งที่ต้องการ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้  objectValue = arrayListName.get(index);   โดยที่ arrayListName เป็นชื่อของออบเจ็กต์ ArrayList ที่ต้องการหาค่าสมาชิก objectValue เป็นออบเจ็กต์ที่ใช้รับข้อมูลจากเมธอด index เป็นตำแหน่งที่ต้องการหาค่าสมาชิก สามารถนำข้อมูลประเภทออบเจ็กต์นี้ ไป แปลงเป็นชนิดข้อมูลที่ต้องการได้ โดยใช้ เมธอดในคลาส Wrapper ได้แก่ เมธอด toString(), เมธอดประเภท parseType()  

ความแตกต่างของ Array และ ArrayList

การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด การส่งชนิดข้อมูลพื้นฐานจะเป็นการส่งค่าข้อมูลแบบค่า (pass by value) ไปให้กับเมธอดที่เรียกใช้ หากมีการเปลี่ยนแปลงค่าของพารามิเตอร์ภายในเมธอดที่เราเรียกใช้ จะไม่ทำให้ค่าของอาร์กิวเมนต์เปลี่ยนตาม การส่งชนิดข้อมูลแบบอ้างอิงซึ่งใช้กับข้อมูลประเภทออบเจ็กต์ จะเป็นการส่งค่าตำแหน่งอ้างอิง (pass by reference) ไปให้กับเมธอดที่เรียกใช้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงค่าพารามิเตอร์ภายในเมธอดที่เรียกใช้ จะมีผลทำให้ค่าของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปเปลี่ยนตาม คุณลักษณะเช่นนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกรณีที่ต้องการเปลี่ยนแปลงค่าของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปภายใต้การทำงานของเมธอด 1 เมธอด เช่น การคำนวณการแลกเหรียญที่ต้องการผลเป็นจำนวนเหรียญ 10 บาท, เหรียญ 5 บาท, เหรียญ 2 บาท และเหรียญ 1 บาท ซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการมีทั้งหมด 4 ค่า

โปรแกรมคำนวณแลกเหรียญ ใช้การส่งข้อมูลแบบค่า

โปรแกรมคำนวณแลกเหรียญ ใช้การส่งออบเจ็กต์

โปรแกรมข้อ 26 คลาส countScore ประกอบด้วยข้อมูลนักศึกษาที่มีช่วงคะแนนสอบต่าง ๆ 5 ค่า คือ ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป, ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 70 คะแนนแต่น้อยกว่า 80 คะแนน, ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 60 คะแนนแต่น้อยกว่า 70 คะแนน, ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 50 คะแนนแต่น้อยกว่า 60 คะแนน, ข้อมูลคะแนนสอบน้อยกว่า 50 คะแนน และเมธอด void processScoreData(ArrayList studentScoreData, scoreOutput output) ทำหน้าที่คำนวณจำนวนและเปอร์เซ็นต์นักศึกษาที่สอบได้ในแต่ละช่วงคะแนน จงเขียนโปรแกรมเพื่อสร้าง result และเขียนโปรแกรมรับข้อมูลคะแนนสอบของนักศึกษาจำนวนหนึ่ง เรียกใช้เมธอด และแสดงผล ซึ่งประกอบด้วย จำนวนนักศึกษาทั้งหมด, คะแนนสอบของนักศึกษาแต่ละคน จำนวนนักศึกษาที่สอบได้ในแต่ละช่วงคะแนน ทางจอภาพ

ประเภทของเมธอด (1) Instance Method เป็นเมธอดที่เรียกผ่านออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสด้วยตัวดำเนินการ new

ประเภทของเมธอด (2) Static Method

ประเภทของเมธอด (3) โปรแกรมคำนวณเงินภาษีด้วย static method