ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การเจริญเติบโตของมนุษย์
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
"ปฏิบัติตนอย่างไร ไม่ให้ปวดหลัง"
ประวัติ (ต่อ ) สภาพครอบครัว ผลกระทบจากการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กลุ่มสาระการเรียนรู้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์

ผู้สูงอายุ

กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-74 ปี) เป็นผู้ที่ยังแข็งแรง สุขภาพดี อยู่ได้ตามลำพัง เป็นอิสระ ช่วยเหลือตนเองได้ ควรมีการจรรโลงสุขภาพที่ดีไว้ กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุตอนปลาย (อายุ 75-80 ปี) ถ้าไม่มีโรคประจำตัวและดูแลสุขภาพดีก็ยังแข็งแรง แต่ต้องพึ่งพิง ควรได้รับการช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน และการเฝ้าระวังทางสุขภาพ กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุสูงสุด (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องการผู้ดูแลช่วยเหลือในชีวิตประจำวันต้องการดูแลด้านการแพทย์และเวชศาสตร์ผู้สูงอายุตามสาเหตุ ซึ่งอาจจะเป็นการดูแลที่บ้านหรือสถานพยาบาลที่ต้องการความต่อเนื่องของบริการที่มีลักษณะแบบบูรณาการ

สุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ 4 หลักการ พึ่งตนเอง  อยู่เพื่อดูแลตนเองได้ให้ยืนยาวที่สุด ครอบครัวเกื้อหนุน  อยู่เพื่อความอบอุ่นในครอบครัวให้นานที่สุด ชุมชนช่วยเหลือ  อยู่เพื่อสานสัมพันธ์กับเพื่อนให้นานที่สุด สังคม รัฐเกื้อหนุน  อยู่เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตในสังคมได้ดีที่สุด

สิทธิและความมั่นคงด้านสุขภาพ สถานะสุขภาพ การดูแล การส่งเสริม การป้องกัน ไม่ป่วย สมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มปัจจัยเสริม ลดปัจจัยเสี่ยง ป่วย เข้าถึงบริการ คุณภาพบริการ ไม่ป่วยซ้ำ พิการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ คุณภาพชีวิตในสังคม ไม่พิการซ้ำ

สภาวะทุพพลภาพและภาวะพึ่งพาในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุทุก 1 ใน 4 คน เจ็บป่วยทุพพลภาพ ผู้สูงอายุทุก 1ใน 5 คนทุพพลภาพระยะยาว (มากกว่า 6 เดือน) 7% พึ่งพาผู้อื่น เมื่อปฏิบัติกิจวัตรส่วนตัว 11.5% พึ่งพาผู้อื่น ยามออกนอกเคหะสถาน 45% พึ่งพาผู้อื่น เมื่อใช้การขนส่งสาธารณะ 28% ของเตียงผู้ป่วย คือผู้สูงอายุ

มาตรฐานผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดมาตรฐานผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ไว้ 4 ประการ ดังนี้ 1. มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ 2. มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 3. มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ 4. สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ

การยศาสตร์ ergonomics

สาเหตุของปัญหา 1.ท่าทาง ตำแหน่งร่างกายไม่ถูกต้อง ผิดแบบแผน 2.นิสัยความเคยชินในการทำงานที่ผิด 3.ความเป็นอยู่ที่เคร่งเครียดรีบเร่ง 4.ความยืดหยุ่น/ความแข็งแรง 5.สมรรถภาพร่างกายถดถอยเนื่องจากวัย 6.สภาวะการบริโภคอาหาร 7.สภาพสิ่งแวดล้อม

ปัญหาสุขภาพจากท่าทางการเคลื่อนไหวที่ผิด ยืนนาน ท่าเดิม เท้า น่อง ขา บวม เส้นเลือดขอด ที่นั่งไม่มีพนักพิงหลัง ปวดกล้ามเนื้อหลัง ที่นั่งสูงเกินไป ปวดเท้า น่อง เข่า ต้นขาด้านหลัง ที่นั่งต่ำเกินไป ปวด คอ ไหล่ หลัง นั่งหรือยืน ลำตัวก้มมาด้านหน้า ปวดเอว ใช้แขนในท่ายื่นมาด้านหน้าและด้านข้าง ปวดแขน ปวดไหล่ ศีรษะก้ม เงยมากเกินไป ปวดคอ การหยิบจับผิดท่าทาง ปวดแขน ข้อมือ เอ็นกล้ามเนื้อมือ

บัญญัติ 10 ประการ 1. ทำงานในท่าทางที่ถูกต้อง 2. ลดการใช้แรงที่มากเกินไป 3. จัดวางอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานให้สามารถ เอื้อมจับได้ง่าย 4. ทำงานในระดับความสูงที่เหมาะสม 5. ลดการขยับ บิดหมุนและการทำงานในท่าทางที่ซ้ำๆ

6. เลี่ยงการทำงานจนเกิดการอ่อนล้าและแรงกระทำ ต่อเนื่องขณะทำงาน 7. ลดการเกิดแรงกระทำต่อร่างกายเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง 8. จัดพื้นที่การทำงานให้เหมาะสม ไม่เป็นอุปสรรคต่อ การทำงาน 9. มีการขยับ ออกกำลังกาย ยืดกล้ามเนื้อเป็นระยะ ระหว่างทำงาน 10.จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการทำงาน อย่าง สม่ำเสมอ

แนวทางการปฎิบัติ 1.ท่ายืน 2.ท่านั่ง 3.ท่านั่งขับรถ 4.ท่าหิ้วของ/ยกของ 5.ท่าเดิน 6.ท่านอน 7.การปรับพื้นที่ทำงาน/สุขนิสัยในการทำงาน 8.ออกกำลังกาย/ลดความเครียด

ท่าทางที่ถูกต้อง : คอ

ท่าทางที่ถูกต้อง : ไหล่

ท่าทางที่ถูกต้อง : ข้อมือ

ท่าทางที่ถูกต้อง : หลัง

Hemispheric swing space Anthropometric parameters (Anthropology = มานุษยวิทยา)

สิ่งที่ต้องปฏิบัติ ดูแล รักษา ตนเอง อย่างสม่ำเสมอ ตรวจสอบ ซ่อมแซม เสริมสร้าง ร่างกายและสิ่งแวดล้อม หลีกเลี่ยง การล้าและความเครียดทางกายและใจ หาโอกาสพักผ่อนสบายกายสบายใจ สังสรรค์ สันทนาการ

สวัสดีค่ะ