ระบบกฎของ FUZZY.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ลอจิกเกต (Logic Gate).
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Type Judgments และ Type Rules. คำศัพท์ที่จะใช้ Type judgment: การตัดสินความถูกต้องของ type สำหรับ expression หรือ statement ใน โปรแกรม – เป็นบทสรุป (conclusion)
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Logic Programming โปรแกรมเชิงตรรกะ.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
Lecture 2: Logic Methods of proof.
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับฟัซซีลอจิก
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
Logic Programming การโปรแกรมเชิงตรรกะ.
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ตัวดำเนินการ(Operator)
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
Knowledge- Base Systems XML. Agents FRODO - เป็นการรวมกันของ - การพัฒนาการแก้ไขปัญหาความทรงจำ ขององค์กรและระบบเดิมขององค์กร ( ฐานข้อมูล ) ที่ทำแยกกัน.
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ARTIFICIAL INTELLIGENCE
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
การให้เหตุผล.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบกฎของ FUZZY

ตัวแปรภาษา FUZZY

ตัวแปรภาษา FUZZY ตัวแปรภาษาเป็นการประกอบกัน (composition) ของตัวแปรสัญลักษณ์ (symbolic variable) และตัวแปรเชิงเลข (numerical variable) ตัวอย่างตัวแปรสัญลักษณ์ เช่น “รูปร่าง เป็น ทรงกระบอก” (Shape = Cylinder) คำว่า “รูปร่าง” เป็นตัวแปรที่บอกถึงรูปร่างของวัตถุ ตัวอย่างตัวแปรเชิงเลข เช่น “ความสูงเท่ากับ 4 ฟุต” (Height = 4') ตัวแปรเชิงเลขจะมีใช้กันในสาขางานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ การแพทย์ และอื่น ๆ ส่วนตัวแปรสัญลักษณ์มีความสำคัญในวิทยาการเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์และการตัดสินใจ การใช้ตัวแปรภาษาเป็นการรวมตัวแปรเชิงเลขกับตัวแปรสัญลักษณ์เข้าด้วยกัน ภาพที่ 2-22 แสดงตัวอย่างเซตตัวแปรภาษาของเซตฟัซซี ได้แก่ Extremely Low, Very Low, Low, Medium, High, Very High และ Extremely High

กฎของ FUZZY วิทยาการเกี่ยวกับฟัซซีลอจิกมีจำนวนมาก แต่ที่นิยมและการประยุกต์ใช้งานมากที่สุดเห็นจะได้แก่ กฎฟัซซีแบบถ้า-แล้ว (fuzzy if-then rule) ตัวอย่างการใช้กฎในการแยกกลุ่มดังภาพที่ 2-18 ในภาพที่ 2-19 แสดงปริภูมิรูปแบบ (pattern space) การจัดกลุ่มด้วยกฎฟัซซี

กฎของ FUZZY

กฎของ FUZZY

กฎของ FUZZY จากภาพสามารถเขียนเป็นกฎในรูปประโยคภาษาได้ดังนี้ กฎข้อ 1: ถ้า x1 มีค่า low และ x2 มีค่า low แล้ว ข้อมูล (x1, x2) เป็นกลุ่ม C1 กฎข้อ 2: ถ้า x1 มีค่า low และ x2 มีค่า high แล้ว ข้อมูล (x1, x2) เป็นกลุ่ม C2 กฎข้อ 3: ถ้า x1 มีค่า high และ x2 มีค่า low แล้ว ข้อมูล (x1, x2) เป็นกลุ่ม C3 กฎข้อ 4: ถ้า x1 มีค่า high และ x2 มีค่า high แล้ว ข้อมูล (x1, x2) เป็นกลุ่ม C4

ระบบกฎแบบ FUZZY ในระบบปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) หรือเครื่องจักรอัฉริยะ (machine intelligence) มีวิธีการหลายวิธีในการที่จะแสดงองค์ความรู้ของมนุษย์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตรรกะ (logic) เฟรม (frames) โครงข่ายความหมาย (semantic nets) ภววิทยา (ontology) และกฎ (rules) ซึ่งแบบหลังสุดเป็นวิธีหนึ่งที่นิยมใช้ในระบบฟัซซี

รูปแบบกฎของ FUZZY ในระบบฟัซซีองค์ความรู้สามารถแสดงในรูปประโยค ถ้า ข้อตั้ง (ข้อนำ) ดังนั้น ข้อยุติ (ข้อตาม) IF premise (antecedent), THEN conclusion (consequent) ข้อความข้างต้นเป็นที่รู้จักกันดีในนาม “รูปแบบฐานกฎถ้า-ดังนั้น” (IF-THEN rule-based form) หรือ รูปแบบนิรนัย (deductive form) ในรูปแบบการแสดงอนุมาน หากเราทราบความจริง (ข้อตั้ง ข้อสมมุติฐาน หรือข้อนำ) แล้วเราสามารถอนุมาน หรือหาข้อสรุปความจริงอีกอย่างหนึ่งที่เรียกว่าข้อยุติหรือข้อตาม การแสดงรูปแบบองค์ความรู้นี้ เรียกว่า องค์ความรู้ตื้น (shallow knowledge) ซึ่งค่อนข้างมีความเหมาะสมในบริบทของภาษา เนื่องจากเป็นการแสดงประสบการณ์ของมนุษย์และองค์ความรู้เชิงศึกษาสำนัก (heuristics) ในรูปแบบประโยคภาษามนุษย์ที่ใช้ในการสื่อสารทั่วไป แต่ไม่เป็นรูปแบบองค์ความรู้ที่ลึกล้ำ แบบที่เป็นการรู้เอง เป็นโครงสร้าง เป็นฟังก์ชัน หรือเป็นพฤติกรรมของวัตถุรอบ ๆ ตัวเรา อย่างที่เรียกว่า อุปนัย (inductive)