Fracture tibia and fibula กระดูก tibia หักพบได้บ่อยกว่ากระดูกชิ้นอื่น อุบัติเหตุที่รุนแรงจะทำให้กระดูกหักและเนื่องจากกระดู tibia อยู่ตื้นจึงมักจะเกิดบาดแผลลึกถึงกระดูก(open fracture) ได้ง่าย soft tissue injury ที่รุนแรงจะเกิด necrosis ทำให้กระดูกโผล่บริเวณบาดแผลซึ่งจะต้องทำ reconstruction ในภายหลัง การรักษากระดูกtibia หักยังเป็นที่ ถกเถียงกันอยู่ว่าวิธีใดเหมาะสมที่สุดซึ่งควรจะพิจารณาในผู้ป่วยเป็นรายๆไป
กลไกการเกิดภยันตราย 1direct injury พบได้บ่อย ถ้าเป็น higt energy trauma มักจะเป็น open fracture ซึ่งทำให้ skin soft tissue ซอกซ้ำมาก 2 indirect injury มักเกิดจากการเล่นกีฬา หรือตกจากที่สูง ทำให้เกิดแรงบิดหมุนต่อ tibia ลักษณะกระดูกหักมักเป็นรอย แตกยาว (spiral fracture) หรือ long oblique fracture .ในพวกนี้ soft tissue injury จะไม่ค่อยมาก
อาการและอาการแสดง ในผู้ที่รู้สึกตัวดีจะบอกได้ค่อนข้างชัดเจน ขาจะบวมกดเจ็บอาจจะมีเสียงเวลาขยับ(crepitation) ขางอผิดรูป กดเจ็บมากบริเวณตำแหน่งกระดูกหัก หากมีแผลส่วนใหญ่มักจะถึงกระดูก ผิวหนังที่ซอกซ้ำมากอาจทำให้เกิด skin necrosis ได้ ควรตรวจความรู้สึกบริเวณหลังเท้าและฝ่าเท้า ขยับนิ้วเท้าดูเพื่อให้ทราบว่าเส้นประสาทและกล้ามเนื้ออยู่ในสภาพดีหรือไม่ คลำชีพจรบริเวณ dorsalis pedis และ posterior tibial artery ทั้งสองเส้นเสมอ กรณีที่ขาบวมมาก ตึง ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดมาก ปลายเท้าชา ขยับนิ้วไม่ได้ ให้นึกถึง ภาวะ compartment syndrome ซึ่งต้องรักษาอย่างรีบด่วน
การรักษา Conservative Closed reduction apply long leg cast
Operation ORIF c plat and screw -ORIF c nail -External fixation
Complication --Release pressure .remove cast, splint, fasiotomy .compartment syndrome—Eary detection --Release pressure .remove cast, splint, fasiotomy .vascular injury .infection .malunion