Lecture 2: Logic Methods of proof.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ตรรกศาสตร์ (Logics) Chanon Chuntra.
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
สับเซตและเพาเวอร์เซต
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
Type Judgments และ Type Rules. คำศัพท์ที่จะใช้ Type judgment: การตัดสินความถูกต้องของ type สำหรับ expression หรือ statement ใน โปรแกรม – เป็นบทสรุป (conclusion)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มิถุนายน ๒๕๕๒
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
ประพจน์ และค่าความจริง
INC 551 Artificial Intelligence
Mathematics for computing I
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การคิดและการตัดสินใจ
ระบบกฎของ FUZZY.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
- คนไทยชอบยิ้ม = ท - มหาวิทยาลัย คือ สถาบันอุดมศึกษา = ม - Love is blind= L - Aristotle is a logician.= A.
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ตารางค่าความจริงของตัวดำเนินการเชิงตรรกะ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
สัจนิรันดร์ ข้อขัดแย้งและข้อความที่สรุปไม่ได้
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lecture 2: Logic Methods of proof

310213 Discrete Structures:Logic Methods of proof หัวข้อบรรยาย Definitions of theorem Rules of inference Formal proofs 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Basic Definitions Definition: theorem คือประโยคที่เป็นผลสรุปอย่างสมเหตุสมผล สามารถพิสูจน์ได้จาก ทฤษฎีอื่นๆ axioms (ประโยคที่เรายอมรับว่าจริง) และ หลักการให้เหตุผล(rules of inference) lemma (not a “lemon”) คือ 'pre-theorem' หรือประโยคที่เป็นผลสรุปที่สามารถนาไปพิสูจน์ทฤษฎีบท corollary คือ 'post-theorem' หรือผลสรุปที่เป็นผลมาจากทฤษฎีบท 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Rules of Inference สามารถใช้ tautologies ที่กล่าวมาแล้วมาช่วยในการให้เหตุผลได้ การให้เหตุผลจะเขียนในรูป H1  H2  ...  Hn  C เมื่อ Hi เรียกว่า hypotheses C เรียกว่า conclusion 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Rules of Inference กฏการให้เหตุผลสามารถเขียนอยู่ในรูป : H 1 H2 . Hn C 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Rules of Inference ตัวอย่าง tautology : P ( P  Q) Q เขียนได้เป็น P P Q Q หมายความว่าเมื่อ P เป็นจริงและ P Q เป็นจริงจะสรุปได้ว่า Q เป็นจริง กฏการให้เหตุผลข้อนี้เรียกว่า modus ponens หรือ law of detachment 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Rules of Inference 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Rules of Inference 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Formal Proofs สมมุติว่าสมมุติฐาน ( hypotheses) เป็นจริง ใช้กฎการให้เหตุผลหรือประพจน์ที่สมมูลกัน(logical equivalences) เพื่อแสดงให้ได้ว่าผลสรุปเป็นจริง 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง ถ้าม้าบินได้หรือวัวกินหญ้าแล้วยุงเป็นนกสวยงาม ถ้ายุงเป็นนกสวยงามแล้วไก่ขัน แต่ไก่ไม่ขัน ดังนั้นวัวไม่กินหญ้า กำหนดตัวแปรแทนดังนี้: A - วัวกินหญ้า F - ม้าบินได้ M - ยุงเป็นนกสวยงาม P -ไก่ขัน 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง เขียนเป็นรูปสัญลักษณ์ดังนี้ 1. (F  A)  M 2. M  P 3.  P   A ใช้สมมุติฐานจากข้อ1, 2, และ 3. และ rules of inference พิสูจน์ได้ดังนี้ 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง(2) Assertion Reasons 1.(F  A)  M Hypothesis 1. 2.M P Hypothesis 2. 3.(F  A)  P steps 1 , 2 , hypothetical syll. 4. P Hypothesis 3. 5.  (F  A) steps 3, 4 and modus tollens 6. F A step 5 , DeMorgan 7. A  F step 6, commutativity of 'and' 8. A step 7, simplification 310213 Discrete Structures:Logic

Rules of Inference for Quantifiers xP(x) P(c) Universal Instantiation (UI) ________________________________________ P(c) เมื่อ c เป็นค่าใดๆใน Universe xP(x) Universal Generalization (UG) P(c) สำหรับ c บางตัวใน Universe xP(x) Existential Generalization (EG) xP( x) P(c) Existential Instantiation (EI) 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง Every man has two legs. John Smith is a man. Therefore, John Smith has two legs. กำหนดเป็น predicates ดังนี้ M(x) : x is a man L(x) : x has two legs J : John Smith 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง(ต่อ) เขียนในรูปสัญลักษณ์ของประพจน์ได้ดังนี้ 1. x[M(x)  L(x)] 2. M( J ) L( J) พิสูจน์ 1.x[M(x) L(x)] Hypothesis 1 2.M( J ) L(J ) step 1 and UI 3.M(J) Hypothesis 2 4. L( J) steps 2 and 3 ,modus ponens 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Methods of Proof การพิสูจน์ทฤษฎีบท จะอยู่ในรูป P → Q P อาจจะอยู่ในรูป conjunction ของสมมุติฐาน ต้องแสดงให้ได้ว่า P→ Q เป็นจริง วิธีการพิสูจน์มีหลายวิธีเช่น : Trivial proof. Direct proof. Indirect proof. Proof by contradiction. 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Trivial Proof Trivial proof: ถ้าเราทราบว่า Q เป็นจริง จะได้ว่า P Q เป็นจริงเสมอ ตัวอย่าง ถ้าฝนตกวันนี้แล้วเซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต ประพจน์นี้เป็นจริง ขึ้นกับค่าความจริงของ P ถ้าเราทราบว่าสมมุติฐาน P เป็นเท็จแล้ว P Q จะเป็นจริงเสมอ (vacuously true) ถ้าฉันรวยและจนแล้วพระจันทร์ขึ้นทางทิศตะวันตก (P  P) Q ซึ่งสมมุติฐาน contradiction ดังนั้น Q จะเป็นจริง 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Direct Proof กำหนดสมมุติฐานเป็นจริง ใช้หลักการให้เหตุผล(rules of inference) axioms และ logical equivalences เพื่อสรุปให้ได้ว่าผลสรุปเป็นจริง 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Direct Proof(2) ตัวอย่าง จงพิสูจน์ว่า ถ้า n เป็นจำนวนเต็มคี่แล้ว n2 เป็นจำนวนเต็มคี่ พิสูจน์ สมมุติให้ n เป็นจำนวนเต็มคี่ n = 2k + 1 เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม n2 = (2k + 1 )2 =4 k2 + 4k + 1 = 2(2 k2 + 2k) + 1 ดังนั้น n2 เป็นจำนวนเต็มคี่ 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Indirect Proof Indirect proof: จากกฎของ contrapositive จะได้ว่า P→Q ⇔¬Q→¬P เป็น direct proof โดยใช้ contrapositive ให้ผลของ P Q เป็นเท็จ (Q เป็นจริง) ใช้ rules of inference, axioms และlogical equivalences แสดงให้ได้ว่า P เป็นเท็จ 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Indirect Proof (2) ตัวอย่าง จงพิสูจน์ว่า ถ้า 3n +2 เป็นจำนวนเต็มคี่แล้ว n เป็นจำนวนเต็มคี่ พิสูจน์ 310213 Discrete Structures:Logic

Proof by contradiction or reductio ad absurdum มี 2 กรณี คือ 1. พิสูจน์ว่า Q เป็นจริง วิธีการ สมมุติให้ผลสรุป Q เป็นเท็จ พยายามหาข้อความที่เป็น contradiction ที่อยู่ในรูป P P ซึ่งจะทำให้เกิด Q0 ซึ่ง contrapositive ของประโยคข้างต้นคือ 1Q ซึ่งจะได้ว่า Q ต้องเป็นจริง 310213 Discrete Structures:Logic

Proof by contradiction (2) 2 พิสูจน์ว่า P→Q เป็นจริงโดยใช้วิธีหาข้อขัดแย้ง วิธีการ การพิสูจน์ประโยค P  Q เป็นจริงโดยใช้วิธีหาข้อขัดแย้ง ต้องสมมุติให้  (P  Q) เป็นจริง แต่ (P  Q )  (P  Q )  (P)  Q  P  Q ดังนั้นต้องสมมุติให้ P  Q เป็นจริงแล้วหาข้อขัดแย้งในรูป R  R ให้ได้ จึงสรุปได้ว่า P  Q 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง ตัวอย่างจงพิสูจน์ว่า √2 เป็นจำนวนอตรรกยะ แนวคิด ถ้าให้ p : √2 เป็นจำนวนอตรรกยะ  p : √2 เป็นจำนวนตรรกยะ พิสูจน์ สมมติให้ เป็นจำนวนตรรกยะ √2 = n/m ; n , m Z และ ห.ร.ม. ของ n และ m เป็น 1 2 = n2 /m2 n2 = 2m2 …………(1) จะได้ว่า ถ้า n2 เป็นเลขคู่แล้วจะได้ว่า n เป็นเลขคู่ n = 2t ; t Є Z 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง แทนค่าใน (1) :- (2t)2 = 2m2 m2 = 2t2 จะได้ว่า m2 เป็นเลขคู่ ดังนั้น m เป็นเลขคู่ จะได้ว่า n และ m เป็นเลขคู่ซึ่งขัดแย้งกับที่กำหนดไว้ในตอนแรกว่า ห.ร.ม. ของ n และ m เป็น 1ดังนั้น √2 เป็นจำนวนตรรกยะไม่จริง นั่นคือ √2 เป็นจำนวนตรรกยะไม่จริง 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง จงพิสูจน์ว่า ถ้า 3n +2 เป็นจำนวนเต็มคี่แล้ว n เป็นจำนวนเต็มคี่ พิสูจน์ 310213 Discrete Structures:Logic

Disproof by Counterexample จากประโยค xP(x)  xP(x ). ต้องการแสดงว่า xP(x ) เป็นจริง (หรือ xP(x) เป็นเท็จ ดังนั้นต้องหา c ซึ่งทำให้ P(c) เป็นจริง หรือ P(c) เป็นเท็จ ในกรณีนี้ c เรียกว่า counterexample ของประโยค xP(x) 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า P  Q   P  Q หรือไม่ถ้าจริงให้พิสูจน์ แต่ถ้าไม่จริงให้ยกตัวอย่าง คำตอบ ไม่จริง เช่น P มีค่าความจริงเป็น F, Q มีค่าความจริงเป็น F จะได้ว่า P  Q มีค่าความจริงเป็น T แต่  P  Q มีค่าความจริงเป็น F 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Fallacies Fallacies คือกฎการให้เหตุผลที่ไม่ถูกต้อง ตัวอย่างของ fallacies ที่พบบ่อยๆ The Fallacy of Affirming the Consequent การให้เหตุผลที่เขียนเป็นรูปสัญลักษณ์ของประพจน์ดังนี้ P Q Q P หรือ [(P Q )  Q ]  P ซึ่งไม่เป็น tautology ดังนั้นการให้เหตุผลไม่ถูกต้อง 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Fallacies The Fallacy of Denying the Antecedent (or the hypothesis) การให้เหตุผลที่เขียนเป็นรูปสัญลักษณ์ของประพจน์ดังนี้ P Q P Q หรือ [(P Q) P] Q ซึ่งไม่เป็น tautology ดังนั้นการให้เหตุผลไม่ถูกต้อง 310213 Discrete Structures:Logic

310213 Discrete Structures:Logic Fallacies Begging the question or circular reasoning เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยเราใช้ความจริงของประโยคที่กำลังพิสูจน์มาอ้างอิงในการพิสูจน์ตัวเอง ตัวอย่าง จงแสดงว่า x 2 เป็นจำนวนคู่แล้ว x เป็นจำนวนคู่ พิสูจน์ x 2 เป็นจำวนคู่แล้ว x 2 = 2k สำหรับบาง k บางตัว ดังนั้น x = 2t สำหรับบาง t บางตัว ดังนั้น x เป็นจำนวนคู่ 310213 Discrete Structures:Logic