โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน

ความน่าจะเป็น Probability.
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
Chapter 8: Interval Estimation
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ตัวอย่างที่ 2.16 วิธีทำ จากตาราง.
ตัวอย่างที่ 2.8 วิธีทำ.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
การนับเบื้องต้น Basic counting
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
INC 551 Artificial Intelligence
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
เศษส่วน.
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
การหาความน่าจะเป็น และเทคนิคการนับ
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
การให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญ มี 2 วิธี ได้แก่
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มนุษย์รู้จักใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความเชื่อ หรือเพื่อหาความจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Chapter 4: Probability ความน่าจะเป็น.
Chapter 4: Probability ความน่าจะเป็น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี ความน่าจะเป็น โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1 ความหมายความน่าจะเป็น 2 การทดลองสุ่ม 3 เหตุการณ์ 4 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

1 ความน่าจะเป็น (Probability) คือ จำนวนที่แสดงให้ทราบว่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นมากหรือน้อยเพียงใด ตัวอย่าง ในขวดมีลูกแก้ว สีแดง 2 ลูก สีน้ำเงิน 3 ลูก ถ้าสุ่มหยิบขึ้นมา 1 ลูก ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ สีแดง เป็นเท่าไร โอกาสที่จะหยิบได้ สีแดงเป็น 2 ลูก จากลูกแก้วทั้งหมด 5 ลูก ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ สีแดงเป็น 2 ใน 5 ลูก ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ สีแดงเท่ากับ

2 การทดลองสุ่ม ( Sampling Random) คือ การกระทำที่ทราบว่าผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นมีอะไรบ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าขณะกระทำอยู่นั้นจะเกิดผลอะไรจากผลทั้งหมดที่เป็นไปได้ ตัวอย่าง 1. โยนเหรียญที่เที่ยงตรง 1 อัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ผลที่อาจเกิดได้ H HH หัว H HT T H TH ก้อย T T TT ผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่มนี้เรียกว่า แซมเปิลสเปซ (Sample space) ดังนั้น S = {HH , HT , TH , TT}

2. ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง (1,1) (1,2) (1,3) (1,4) (1,5) (1,6) (2,1) 2. ทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นได้จากการทดลองสุ่มนี้ ลูกที่ 2 ลูกที่ 1 1 2 3 4 5 6 (1,1) (1,2) (1,3) (1,4) (1,5) (1,6) (2,1) (2,2) (2,3) (2,4) (2,5) (2,6) (3,1) (3,2) (3,3) (3,4) (3,5) (3,6) (4,1) (4,2) (4,3) (4,4) (4,5) (4,6) (5,1) (5,2) (5,3) (5,4) (5,5) (5,6) (6,1) (6,2) (6,3) (6,4) (6,5) (6,6) ดังนั้น จำนวนแซมเปิลสเปซ = 36 Frame 2

3 เหตุการณ์ (Event) จากการทดลองสุ่มจะได้ผลทั้งหมดที่อาจเป็นไปได้แต่ถ้าสนใจบางส่วนของผลที่เป็นไปได้ทั้งหมดนั้นจะเรียกผลที่เราสนใจจากการทดลองสุ่มว่า “ เหตุการณ์ ” ตัวอย่าง 1. จากการทดลองสุ่มโยนลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาเหตุการณ์ที่ 1.1) โยนได้แต้มเป็นเลขคู่ 1.2) โยนได้แต้มที่มากกว่า 3 1.3) โยนได้แต้มที่หารด้วย 5 ลงตัว

จะได้ S = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } ดังนั้น E1 = { 2 , 4 , 6 } ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จะได้ S = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } 1.1) เหตุการณ์ที่โยนได้แต้มเป็นเลขคู่ ดังนั้น E1 = { 2 , 4 , 6 } 1.2) เหตุการณ์ที่โยนได้แต้มที่มากกว่า 3 ดังนั้น E2 = { 4 , 5 , 6 } 1.3) เหตุการณ์ที่โยนได้แต้มที่หารด้วย 5 ลงตัว ดังนั้น E3 = { 5 } Frame 2

4 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ หมายถึง ค่าที่บอกให้ทราบว่าเหตุการณ์ที่สนใจนั้นมีโอกาส เกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด จำนวนผลจะที่เกิดในเหตุการณ์นั้น ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ = จำนวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อ P(E) แทน ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E n(E) แทน จำนวนผลที่จะเกิดในเหตุการณ์ E n(S) แทน จำนวนผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นเหตุการณ์ Frame 1

สมบัติของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ n(E) นั่นคือ P(E) = n(S) สมบัติของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ 1. 0 P(E) 1 เมื่อ E เป็นเหตุการณ์ 2. P(E) = 0 เมื่อ E เป็นเหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้ หรือ ไม่มีโอกาสเกิดขึ้น 3. P(E) = 1 เมื่อ E เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแน่นอน 100 % 4. = 1 - P(E) เมื่อ แทนความน่าจะเป็นของการไม่เกิดเหตุการณ์ E 5. P(S) = 1 เมื่อ จำนวนของเหตุการณ์ที่สนใจเท่ากับจำนวนทั้งหมด ของเหตุการณ์

ข้อ 1) โยนลูกเต๋าเที่ยงตรง 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของ ข้อ 1) โยนลูกเต๋าเที่ยงตรง 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของ ก. เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าจะเกิดแต้ม 2 (E1) ข. เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าจะเกิดแต้มมากกว่า 4 (E2) ค. เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าจะเกิดแต้มมากกว่า 6 (E3) จะได้ S = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } n(S) = 6 , n(E1) = 1 , n(E2) = 2 , n(E3) = 0 1 2 1 ก. P(E1) = ข. P(E2) = ค. P(E3) = = = 6 3 6 6

1. มีบุตรชายอย่างน้อย 1 คน ข้อ 2) ถ้าสุ่มครอบครัวที่มีบุตรสองคนมาครอบครัวหนึ่ง จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ครอบครัวนั้น จะ 1. มีบุตรชายอย่างน้อย 1 คน 2. มีบุตรชาย 1 คน บุตรหญิง 1 คน 3. มีบุตรหญิง 3 คน 4. ไม่มีบุตรชายเลย

ช ญ ช ชช ญ ชญ ช ญช ญ ญญ 3 = 4 1 2 = = 2 4 = = 4 1 = 4 บุตรคนที่ 1 บุตรคนที่ 2 ผลที่อาจเกิดได้ ช ชช ช ญ ชญ ช ญช ญ ญ ญญ ดังนั้น S = { ชช , ชญ , ญช , ญญ } 3 = 1. ความน่าจะเป็นที่มีบุตรชายอย่างน้อย 1 คน 4 1 2 2. ความน่าจะเป็นที่มีบุตรชาย 1 คน บุตรหญิง 1 คน = = 2 4 = 3. ความน่าจะเป็นที่มีบุตรหญิง 3 คน = 4 1 4. ความน่าจะเป็นที่ไม่มีบุตรชายเลย = 4 Frame1

ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำครั้งนี้ ขอขอบคุณทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำครั้งนี้