โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ดำเนิน งาน ต่อเนื่อ ง จนท. เป็นพี่ เลี้ยง. ค่าย ปรับ และ เปลี่ยน พฤติกร รม.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
NCD and Aging to CCVD System Manager
นวัตกรรมที่ได้รับการคัดเลือกให้จัดนิทรรศการ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
1 การดำเนินงานที่เน้นหนักของ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ. ศ นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8 กันยายน 2553 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยองและคณะติดตามประเมินผล
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
คปสอ.เมืองปาน.
สรุปการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
อนาคตระบบบริการสุขภาพ
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
ระบบส่งต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มี คุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ระบบส่งต่อ : มาตรการ : จัดทำระบบส่งต่อภายในเครือข่าย.
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผู้ป่วยมาลาเรียคนไทยและต่างชาติ
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การพัฒนาระบบสารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผู้จัดทำ นายเอกพจน์ นรชาติวศิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จิตต์อารีฯ.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย 27 เมษายน 2554 จูบิลี่ฮอลล์ เมืองทองธานี นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ., อว., MPHM. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ konc62@yahoo.com

ปัญหาของระบบสาธารณสุข Dr.Supakit Sirilak ปัญหาของระบบสาธารณสุข ประกันสุภาพ 100 %, เข้าถึง+คุณภาพ โครงสร้างประชากรและการเคลื่อนย้าย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ

2547 2552 43.6% ความชุกของโรคเบาหวานในประชากร ความชุกของโรคเบาหวาน การรักษา และการควบคุมระดับน้ำตาล ในประชากรไทย พ.ศ. 2547, 2552 2547 2552 6.9 % 6.9% 43.6% 69.8% 29.2 % 54.5% ความชุกของโรคเบาหวานในประชากร ทราบว่าป่วย / ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด ได้รับการรักษาที่ได้ผล / ผู้ป่วยทีรักษาทั้งหมด (FPG< 140mg/dL)

ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง การรักษา และคุม ความดันเลือดได้ในประชากรไทย พ.ศ. 2547, 2552 2547 2552 22.0% 21.4% 30.4% 49.7% 36.7 % 50.6% ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากร ทราบว่าป่วย / ผู้ป่วยความดันสูงทั้งหมด รักษาและควบคุมความดันได้ / ผู้ป่วยที่รักษาทั้งหมด (BP <140/90 mmHg)

หัวใจ 4 ดวง Dr.Supakit Sirilak โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แผนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพตำบล

ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม รพ.สต. ส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ เพิ่มคุณภาพบริการ บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

กลุ่มประชากรเป้าหมาย/แนวคิด/มิติสุขภาพ Dr.Supakit Sirilak กลุ่มประชากรเป้าหมาย/แนวคิด/มิติสุขภาพ เชื่อมโยง เชิงรุก ชุมชน เข้าถึง องค์รวม ประสาน ต่อเนื่อง ชุมชน สังคม บุคคล ครอบครัว ชุมชน สิ่งแวดล้อม ปัญญา ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู จิต เด็ก สตรี สูงอายุ พิการ/ด้อยโอกาส โรคเรื้อรัง กาย วัยรุ่น/เยาวชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

รูปแบบ รพ สต Dr.Supakit Sirilak เทศบาล ชนบท พิเศษ (เกาะ, ห่างไกล) รพ.สต.เดี่ยว ประชากรหนาแน่น / อาจมีหลาย รพ.สต.ในพื้นที่ ลักษณะเฉพาะ อาทิ โรงงาน, ห่างไกล, เกาะ, แหล่งท่องเที่ยว รพ.สต.เครือข่าย ประชากรเบาบาง / รวมเป็นเครือข่าย ลดปัญหาเรื่องบุคลากร พื้นที่ ลักษณะรพ.สต.

บุคลากร Dr.Supakit Sirilak จำนวนขั้นต่ำ เดี่ยว 4 (1+3) เครือข่าย (1+6) ; 1:1,250 ปรับย้ายกำลังคน (โยกย้ายภายใน/ชดเชยกำลังคน) สรรหาบุคลากรใหม่ ตำแหน่งข้าราชการ ระบบจ้างงานใหม่ (ระเบียบใหม่,สิทธิประโยชน์,สัญญาจ้าง) เพิ่มศักยภาพของบุคลากร (อบรม,ศึกษาต่อ,ผลิตใหม่) ผลิตเพิ่ม (ทำแผนระยะกลาง) อสม./ลูกจ้าง ในไทยเข้มแข็ง เพิ่มการผลิตและพัฒนาบุคลากร

การเงินการคลัง : งบดำเนินงาน Dr.Supakit Sirilak การเงินการคลัง : งบดำเนินงาน งบเหมาจ่ายรายหัว และงบเพิ่มเติมจาก สปสช. งบประมาณสนับสนุนจากท้องถิ่น งบส่งเสริมสุขภาพพื้นที่ (P&P area based) กองทุนสุขภาพตำบล เงินบริจาค P&P = Promotion and Prevention

เกณฑ์การประเมินขั้นต่ำของ รพสต. Dr.Supakit Sirilak เกณฑ์การประเมินขั้นต่ำของ รพสต. ปรับภาพลักษณ์ บุคลากรตามเกณฑ์ ระบบข้อมูลครอบครัว (Family Folder), ชุมชน และระบบการรักษาพยาบาลที่มีการปรึกษากับแม่ข่ายรวมถึงระบบส่งต่อ บริหารงานโดยคณะกรรมการพัฒนา รพ.สต.

มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. Dr.Supakit Sirilak 1. การรักษาพยาบาล พยาบาลเวชปฏิบัติ/พยาบาลวิชาชีพ ปรึกษาทางไกลกับ รพ.แม่ข่าย ระบบส่งต่อ (ไป/กลับ) 2. การส่งเสริมสุขภาพ ระดับบุคคล การเยี่ยมบ้าน ข้อมูลประจำครอบครัว (Family Folder) ระดับครอบครัว แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว

มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. (ต่อ) Dr.Supakit Sirilak มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. (ต่อ) 2. การส่งเสริมสุขภาพ (ต่อ) ระดับชุมชน รณรงค์ประจำสัปดาห์ (อาหาร, ออกกำลังกาย) รณรงค์ตามปฏิทินสาธารณสุข สนับสนุนให้มีนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพ 3. ระบบสนับสนุน จาก รพ.แม่ข่าย บุคลากร ระบบการรักษาพยาบาลปรึกษาทางไกล ระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบยาและเวชภัณฑ์

มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. (ต่อ) Dr.Supakit Sirilak มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. (ต่อ) 3. ระบบสนับสนุน จาก รพ.แม่ข่าย ระบบส่งต่อ (ไป/กลับ) วิชาการ งบประมาณ 4. การบริหารงาน คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. ประชาคมเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่เฉพาะ

ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม Dr.Supakit Sirilak ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค คัดกรองโรคเรื้อรัง (ค้นหาเร็ว รักษาง่าย ประหยัด) เด็ก ได้รับวัคซีน / พัฒนาการสมวัยทั้งกายและจิตใจ สตรี ได้รับการคัดกรอง ดูแล ครบถ้วน ผู้สูงอายุ / ผู้พิการ /ผู้ป่วยจิตเวช (ได้รับการดูแลตามสิทธิ, ญาติได้รับการอบรม) ผู้ป่วยพักฟื้น ได้รับการเยี่ยมบ้าน ญาติได้รับการอบรม (หายป่วยเร็วขึ้น การดูแลมีคุณภาพมากขึ้น ลด คชจ.)

ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม Dr.Supakit Sirilak รักษาพยาบาลมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ยา เวชภัณฑ์ เหมือน รพ. (ผป.บางรายไม่ต้องเดินทางไปรับยาที่ รพ.) การรักษาบางโรคใช้ การปรึกษาทางไกล (เดินทางน้อยลง/ประหยัดมากขึ้น) ระบบส่งต่อไป/กลับ รพ.แม่ข่าย (ลดค่าใช้จ่ายของ ปชช.) เจ็บป่วย ฉุกเฉิน มีรถรับส่งอย่างรวดเร็ว (เข้าถึงบริการ/อัตราตายน้อยลง)

ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม Dr.Supakit Sirilak ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม การสาธารณสุขมูลฐาน ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลและแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ (ปชช. / ชุมชน / อบต.) อสม. และจิตอาสา ร่วมการสร้างสุขภาพ ปชช. สามารถดูแล/รักษาพยาบาลเบื้องต้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของปชช. อย่างยั่งยืน

นโยบายที่เกี่ยวโยง Dr.Supakit Sirilak บัตร ปชช แทน บัตรทอง โรงพยาบาล 3 ดี บรรยากาศดี บริการดี บริหารดี แผนสุขภาพตำบล 3 โครงการ สาธารณสุขในแหล่งท่องเที่ยว การควบคุมป้องกันโรคสำคัญ

ปัญหาอุปสรรค Dr.Supakit Sirilak ส่วนกลาง เป้าหมาย และการสนับสนุน (กฎระเบียบ, การเงินการคลัง, ความก้าวหน้า) เชิงโครงสร้าง (หน่วยงานที่รับผิดชอบ) การสื่อสารกับส่วนภูมิภาค / การสื่อสารสาธารณะ งบประมาณสนับสนุน รพ.สต. ส่วนภูมิภาค ความเข้าใจและความใส่ใจในการบริหารเพื่อการพัฒนาในทุกระดับ กำลังคน การพัฒนาศักยภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนบทบาท

การพัฒนาระบบข้อมูลที่จำเป็น สำหรับ รพ.สต. Dr.Supakit Sirilak การพัฒนาระบบข้อมูลที่จำเป็น สำหรับ รพ.สต. ข้อมูลประชากร : แยกตามกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ข้อมูลการเฝ้าระวังโรค : แจ้งเตือนการระบาด การแก้ปัญหาโรคที่มีความสำคัญในพื้นที่ ข้อมูลการให้บริการ ข้อมูลทรัพยากร : บุคลากร งปม เวชภัณฑ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ ข้อมูลแวดล้อมด้านสาธารณสุข ข้อมูลชุมชน

Dr.Supakit Sirilak กลุ่มเป้าหมายบริการ กลุ่มปกติ : ข้อมูลประชากร กลุ่มเสี่ยง : ข้อมูลการตรวจคัดกรอง กลุ่มป่วย : ข้อมูลการวินิจฉัยโรคและรักษาพยาบาล กลุ่มพิการหรือมีภาวะแทรกซ้อน : ข้อมูลการให้บริการและติดตามเยี่ยมบ้าน

สวัสดี