Basic wave theory.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
8.4 Stoke’s Theorem.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Conductors, dielectrics and capacitance
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
การวิเคราะห์ความเร็ว
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
หินแปร (Metamorphic rocks)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
ความเท่ากันทุกประการ
แผ่นดินไหว.
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Engineering Graphics II [WEEK5]
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
น้ำและมหาสมุทร.
ว ความหนืด (Viscosity)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ดวงจันทร์ (Moon).
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Basic wave theory

Amplitude & Period

Wave definitions Amplitude ; the maximum departure of a wave from the average value Peak ; ยอดคลื่น หัวคลื่น ส่วนที่มีพลังงานสูงสุด Through ; ท้องคลื่น ส่วนที่มีพลังงานต่ำสุด Phase ; the angle of lag or lead of a sine wave with respect to a reference Period (sec/cycle) ; the time (t) for one cycle, T=1 / f =  / V Frequency (cycle/sec or Hertz ) ; the repetition rate of a periodic waveform Wave number (cycle/distance) ; the number of waves per unit distance perpendicular to to a wave front that is reciprocal of the wavelength (ความยาวคลื่นต้องวัดที่ Phase เดียวกัน)

Amplitude : phase Peak : Through Point source Raypath : wave front “Top view” Amplitude : phase

3-4 Wavefront : Raypath

3-5 Huygen’s principle ทุกๆจุดบนหน้าคลื่นใดๆสามารถกระทำตัวเป็นต้นกำเนิดคลื่นใหม่ จุดกำเนิดใหม่นี้จะปล่อยคลื่นออกไปโดยรอบและมีอัตราความเร็วเท่ากับอัตราการเคลื่อนที่ของคลื่นเดิม

3-6 Snell’s Law Snell’s Law : ที่ Boundary (รอยต่อ)ใดๆ ระหว่าง 2 ตัวกลางที่แตกต่างกัน มุมตกกระทบของ Ray path ของ P-wave ใน Layer บนและมุมหักเหใน Layer ล่างเมื่อเทียบกับมุมตกกระทบที่ตั้งฉากกับรอยต่อจะมีความสัมพันธ์กันดังนี้

ในการศึกษาเรื่องคลื่นพึงระลึกเสมอว่า Boundary ของตัวกลางต้องมีความต่อเนื่อง ไม่มีรู โพรง หรือรอยแยก (close and continuous) ความเร็วคลื่นในแต่ละ Layer เป็นค่าที่เฉลี่ย (Average velocity) จากทั้ง layer ค่าความเร็วเพิ่มขึ้นตามความลึกเสมอ

Normal incidence angle Refracted wave Reflected wave

3-8 A critical incidence angle ; ปรากฏการณ์ที่มีมุมตกกระทบค่าหนึ่ง เรียกว่ามุมวิกฤติ ( Critical angle ) ที่ทำให้มุมหักเหใน Layer 2 มีค่าเท่ากับ 90 องศาแล้วทำให้เส้น Ray path เดินทางในตัวกลางชั้นล่างขนานไปกับ Boundary และโดยหลักการของ Huygen’s principle คลื่นใน Ray path ดังกล่าวจะให้กำเนิด P-wave กลับขึ้นไปในตัวกลางชั้นบนด้วยความเร็วของ Layer บนและด้วยมุมที่เท่ากับมุมสะท้อน

การลดทอนลงของคลื่นยืดหยุ่น ( Attenuation of Elastic wave ) คือปรากฏการที่พลังงานของคลื่นที่ส่งผ่านลงไปในชั้นดิน/หิน จะมีขนาดลดลงแปรผกผันกับระยะทางที่เพิ่มขึ้น ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า Attenuation มีสาเหตุ 3 ประการคือ Geometrical divergence คือปรากฏการณ์ที่ความเข้มของพลังงานคลื่นทรงกลมเป็นปฏิภาคผกผันกับระยะทางจากแหล่งกำเหนิดคลื่นยกกำลังสอง Amplitude ของคลื่นจะลดลงอย่างชัดเจน การสะท้อนและหักเหของคลื่นในรอยต่อระหว่างตัวกลางที่มี Elastic properties ต่างกัน ยังผลให้พลังงานส่วนหนึ่งสะท้อนกลับและส่วนหนึ่งหักเหไป Absorption เป็นปรากฏการณ์ที่พลังงานคลื่นไหวสะเทือนลดค่าลงโดยเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานความร้อน กลไกของการเปลี่ยนรูปพลังงานยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าความเสียดทานภายในเป็นสาเหตุหนึ่งที่สำคัญโดยพิจารณาในแง่ ความเข้มข้นของพลังงาน I และ ขนาดของแอมปลิจูด A

ปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อความเร็วคลื่นไหวสะเทือน Elastic properties (ความเร็วคลื่นไหวสะเทือนเป็นฟังก์ชั่นของ Elastic properties) Density (ความหนาแน่น) Porosity and Aperture (ความพรุนหรือรอยแตกแยก) Pressure ชั้นหินที่อยู่ภายใต้ความกดดันมากๆจะทำให้รูพรุนมีขนาดลดลง density เพิ่มขึ้น เป็นผลให้ความเร็วมีค่าเพิ่มขึ้นตามความลึก

Velocity and Density