6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
บทที่ 8 Power Amplifiers
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
การใช้งานเครื่องถ่าย
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
1 ความดันสถิต 2 กฎของปาสคาล 3 แรงพยุง 4 ความตึงผิว
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
แผ่นดินไหว.
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ประวัติศาสตร์และโบราณคดีภาคใต้
ความหมายและชนิดของคลื่น
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การแจกแจงปกติ.
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
เกาชีวิต ดำรงค์ วงษ์โชติปิ่นทอง.
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การสร้างแบบเสื้อและแขน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ซ่อมเสียง.
กล้องโทรทรรศน์.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หลักการบันทึกเสียง.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง 6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ ในระบบคลื่นสถิต หูและการได้ยิน ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ รูปส่วนใหญ่ copy มาจาก http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/hph.html

ย่านความถี่ของเสียง คลื่นใต้เสียง (Infrasonic) เช่นคลื่นแผ่นดินไหว f < 20 Hz หูมนุษย์รับฟังไมได้ แต่รับรู้ได้ คลื่นเสียง(Audible range) 20 Hz< f < 20 kHz หูมนุษย์รับฟังได้ คลื่นเหนือเสียง (Ultrasonic) f > 20 kHz หูมนุษย์รับฟังไม่ได้ แต่ สัตว์บางประเภทรับฟังได้

อัตราเร็วเสียง ของไหล ของแข็ง B -ค่าบัลค์โมดูลัส Y -โมดูลัสของยัง r-ความหนาแน่นตัวกลาง

273 v (m/s) 331 K สำหรับอากาศอุณหภูมิปกติ M =30 x10-3 kg g =1.4

ความเข้มเสียง กำลังงานของเสียงที่ตกลงในหน่วยพื้นที่ S

ความเข้มขีดเริ่มของการได้ยิน ระดับความเข้มเสียง [dB: decibel] ความเข้มขีดเริ่มของการได้ยิน Io =10-12 W/m2

ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ ในระบบคลื่นสถิต โมดปกติ (normal modes) รูปแบบการสั่นที่มีความถี่เดียวกันในทุกๆทิศทาง ความถี่ธรรมชาติ (Natural Frequency) ความถี่ของการสั่นในแต่ละโมด ความถี่หลักมูล (Fundamental frequency) ความถี่ต่ำสุดของการสั่น ฮาร์โมนิก (Harmonic) ใช้เรียกความถี่ที่เป็นจำนวนเต็มเท่าของความถี่หลักมูล โอเวอร์โทน(Overtone) ใช้เรียกความถี่ธรรมชาติในโมดที่สูงกว่าของความถี่หลักมูล แต่อาจไม่เป็นจำนวนเท่าของความถี่หลักมูลก็ได้ ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ (Resonance) ความถี่กระตุ้นที่มีค่าใกล้เคียงหรือตรงกันกับความถี่ธรรมชาติเท่านั้นที่จะทำให้เกิดการสั่นของเส้นวัตถุอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง

ลำอากาศปลายเปิด

น่าคิด ข้อจำกัดสมการ v = 331 + 0.6 T มีอะไรบ้าง ถ้าตัวกลางเสียงเปลี่ยนเป็นก๊าซอื่นเช่น ฮีเลียม จะเกิดอะไรขึ้น ทำไมคนตัวเล็กมักจะมีเสียงแหลมกว่าคนตัวใหญ่

ลำอากาศปลายปิด

แผ่นเยื่อกลมขึงตึง T - ความตึง[N/m2] s - ความหนาแน่น[kg/m2] D- เส้นผ่านศูนย์กลาง [m] T - 2000 N/m2 s - 0.26 kg/m2 ==> f01=112 Hz D- 0.6m

การเกิดเสียงพูด Sundberg models

หูและการได้ยิน

การขยายเสียงใน หูตอนนอก การขยายเสียงใน หูตอนนอก ใบหู - ระบุทิศแหล่งกำเนิดเสียง(stereo ) - เพิ่มพื้นที่ดักเสียง และเพิ่มความเข้มเสียงก่อนเข้าสู่รูหู A1 A2 P f1 f3 รูหู - ช่องนำเสียง - ขยายเสียงโดยการอภินาทกับ ลำอากาศปลายปิด เฉพาะบางความถี่ (P x2)

การขยายเสียงใน หูตอนกลาง ความดันเสียงเพิ่มขึ้นโดย 2 กลไก 1. ระบบคานที่มี MA. ประมาณ 3 Ftymp : Foval = 1 : 3 Ftymp FOval 3 1 2. Atymp : Aoval = 15 : 1

หูตอนใน

ความดังของเสียง(loudness) ==>ระดับความเข้มเสียงที่รู้สึกโดยหูคน [ phons] ( 60 phon = 60 dB @1000Hz) ==> เสียงที่มีdB เท่ากัน อาจมี phons ความดังไม่เท่ากัน ถ้าเป็นคนละความถี่ Equal Loudness Curves

สเตทโตสโคป เบลปิด - ปิดด้วยแผ่นเยื่อบางอภินาทได้ดีที่ความถี่สูง ปรับความถี่ได้เล็กน้อยโดยการออกแรงกดกด เบลเปิด - ครอบลงบนผิวหนัง ซึ่งอภินาทได้ดีที่ความถี่ต่ำ

ปรากฏการณ์ ดอปเปลอร์ ดอปเปลอร์(Christian doppler: 1803-1853)นักคณิตศาสตร์ชาวออสเตรียที่อธิบายปรากฏการณ์หนึ่งของเสียงไว้ว่า เมื่อแหล่งกำเนิดเสียงและผู้สังเกตมีการเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน ความถี่เสียงที่ไปปรากฎกับผู้สังเกตจะเปลี่ยนไปจากความถี่ที่แท้จริงของแหล่งกำเนิดเสียง

อัตราเร็วปรากฏ O เข้าหา O ออกห่าง ความยาวคลี่นปรากฏ S เข้าหา S ออกห่าง u O vs l+vs/f l- vs/f vo O เข้าหา O ออกห่าง ความยาวคลี่นปรากฏ S เข้าหา S ออกห่าง O เข้าหา เช่น S เข้าหา

วัดการทำงานของหัวใจโดยใช้ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ fob fs fob' fs' วัดการทำงานของหัวใจโดยใช้ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ fob fs S vs vo O q fs fo v วัดอัตราเร็วเม็ดเลือด (ดูการตีบตันของหลอดเลือด)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (สัมพัทธภาพ) Vso=อัตราเร็วสัมพัทธ = ‘+’ เคลื่อนเข้าหา

อุลตราซาวด์ -Echolocation สแกน 1 มิติ สแกน 2 มิติ กระดูกสันหลัง คลื่นสะท้อน ตัวส่ง-รับ เวลา ความเข้ม สัญญาณ ภาพจากการสะแกน

ความแรง สัญญาณ เวลา (ms) 57.5 60.1 58.8 92.1 65.4 เลนซ์ตา จอตา ตัวส่ง 57.5 ความแรง สัญญาณ 60.1 58.8 65.4 92.1 เวลา (ms) เลนซ์ตา จอตา ตัวส่ง ตัวรับ กระจกตา