การควบคุมทิศทางการทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
Advertisements

คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ครั้งที่ 8 Function.
ควบคุมการทำงานด้วยเงื่อนไข Control Statement
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
Control Statement for while do-while.
การโปรแกรมควบคุมแบบทำงานซ้ำ
โปรแกรมควบคุมเลือกทำตามเงื่อนไข
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
Lecture no. 5 Control Statements
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
Week 15 C Programming.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
รับและแสดงผลข้อมูล.
ขอความสั่ง Switch/case/break/default
Lab 8: คำสั่ง Do-While อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน.
อ.อรวรรณ เชาวลิต For คำสั่งวนซ้ำ อ.อรวรรณ เชาวลิต
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
Repetitive Or Iterative
Relational Operators by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
คำสั่งควบคุม (Control Statement)
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
คำสั่งควบคุมการทำงาน
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
Flow Control.
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ครูรัตติยา บุญเกิด.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง while และ do…while
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
Week 3 Flow Control in PHP
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
Chapter 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
CHAPTER 4 Control Statements
การตรวจสอบเงื่อนไขใน PHP
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
หลักสูตรอบรมครู คอมพิวเตอร์ หลักสูตรอบรมครู คอมพิวเตอร์ หลักสูตรที่ ๑ ทักษะการโปรแกรม เบื้องต้น วันที่สาม.
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
PHP: [5] คำสั่งควบคุม (Control statement)
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมทิศทางการทำงาน Flow of control (Loop)

การควบคุมทิศทางการทํางานแบบเลือกทํา การควบคุมทิศทางการทํางานแบบวนรอบ Flow of control การควบคุมทิศทางการทํางานแบบเลือกทํา if, if – else, if – else if, switch การควบคุมทิศทางการทํางานแบบวนรอบ while, do while, for คําสั่งประกอบการควบคุมทิศทาง break, continue, exit()

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทํา โปรแกรมจะทําหรือไมทําตามชุดคําสั่งนั้นขึ้นอยูกับเงื่อนไขที่ให เงื่อนไขในโปรแกรมอาจเปนการเปรียบเทียบหรือการดําเนินการทาง ตรรกศาสตรซึ่งใหผลลัพธเปน true หรือ หรือ false การควบคุมทิศทางแบบเลือกทําแบงออกเปน 4 ประเภทคือ if if – else if – else if switch

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทํา – if if(condition) statement; condition : เงื่อนไขที่ใหผลลัพธเปน true หรือ false statement : คําสั่งที่จะใหทําหากผลลัพธของเงื่อนไขเปน true หากมีคําสั่งมากกวาหนึ่งคําสั่งจะตองมีเครื่องหมาย { } ปกกาครอบคําสั่งไว้ if(condition) { statement_1; statement_2; ... statement_n; }

if – แผนภาพแสดงการทำงาน Condition False/No True/Yes Statement

if – ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> #include <conio.h> int x,y; void main() { printf(“Enter total score : ”); scanf(“%d”,&x); printf(“Enter number of students : ”); scanf(“%d”,&y); if(y==0) printf(“Divided by zero !\n”); getch(); } Enter total score : 500 Enter number of students : 0 Divided by zero

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทำ – if-else if-else ใช้ในกรณีที่มีทางเลือกอยู่สองทางหาก condition เป็นtrue จะทำ statement ชุด A หาก condition เป็น false จะทำ statement ชุด B if(condition) { statement_A1; ... statement_An; } else statement_B1; statement_Bn; if(condition) statement_A; else statement_B;

if-else แผนภาพแสดงการทำางาน True/Yes Condition False/No Statement A Statement B

ตัวอย่างการใช้งาน if-else #include <stdio.h> int choice; float radius, circum, area; void main() { printf(“1.Circumference of the circle\n”); printf(“2.Area of the circle\n”); printf(“Enter your choice 1 or 2 : ”); scanf(“%d”,&choice); printf(“Enter radius of the circle : ”); scanf(“%f”,&radius); if(choice==1){ circum = 2*3.14156*radius; printf(“Circumference of the circle = %f\n”,circum); } else if(choice==2){ area = 3.14156*radius*radius; printf(“Area of the circle = %f\n”,area);

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทำ if - else if if(condition_A) { statement_A1; ... } else if(condition_B) statement_B1; else statement_Z1; if(condition_A) statement_A; else if(condition_B) statement_B; else if(condition_C) statement_C; ... else if(condition_Y) statement_Y; else statement_Z; Tip: else ตัวสุดท้ายไม่จำเป็นต้องมี

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทำ if - else if False False False Condition_A Condition_B Condition_C True True True Statement_Z Statement_A Statement_B Statement_C

ตัวอย่างการใช้งาน if-else if #include <stdio.h> int point; void main() { printf(“Enter your point : ”); scanf(“%d”,&point); if((point<=100)&&(point>=80)) printf(“Grade A\n”); else if((point<80)&&(point>=70)) printf(“Grade B\n”); else if((point<70)&&(point>=60)) printf(“Grade C\n”); else if((point<60)&&(point>=50)) printf(“Grade D\n”); else printf(“Grade F\n”); }

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทำ – switch switch(variable) { case constant_A : statement_A1; statement_A2; ... break; case constant_B : statement_B1; statement_B2; default : statement; }

การควบคุมทิศทางแบบเลือกทำ – switch variable : ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ให้ผลเป็นข้อมูลแบบ int หรือ char constant_A, constant_B, … : ค่าคงที่ชนิดเดียวกับตัวแปร variable หากค่าของ variable เท่ากับค่าคงที่ตัวใด โปรแกรมจะทำคำสั่งใน case นั่น ใน case เดียวกันอาจมีค่าคงที่ได้หลายตัว break : ใช้คันระหว่าง case ให้โปรแกรมออกจากการทำงานของswitch หากไม่ใส่ตัวคัน โปรแกรมจะทำการเปรียบเทียบ variable กับ constant ตัวถัดไปเรื๋อยๆ default : หาก variable ไม่ตรงกับ constant ใดเลย โปรแกรมจะทำตามคำสั่งใน default

แผนภาพแสดงการทำงาน switch False False False Condition_A Condition_B Condition_C True True True Default Statement_Z Statement_A Statement_B Statement_C

switch – ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> char grade; void main() { printf(“Enter your grade : ”); scanf(“%c”,&grade); switch(grade) case ‘a’: printf(“80-100\n”); break; case ‘b’: printf(“70-79\n”); break; case ‘c’: printf(“60-69\n”); break; case ‘d’: printf(“50-59\n”); break; default: rintf(“0-49\n”); }

การควบคุมทิศทางแบบวนรอบ โปรแกรมจะทำซ้ำคำสั่งเดิมหรือวนลูป (loop) จนกว่าเงื่อนไขจะเป็นfalse จึงหลุดออกจากลูปนั้น คำสั่งแบบวนรอบมี 3 แบบคือ while do – while for

การควบคุมทิศทางแบบวนรอบ while โปรแกรมจะตรวจสอบเงื่อนไขหากเป็นจริงจะทำตามคำสั่ง เมื่อเสร็จแล้วก็จะกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่ วนไปเรื่อยๆจนกว่าเงื่อนไขจะเป็นเท็จจึงออกจากลูป while(condition) statement; while(condition) { statement_1; statement_2; ... statement_n; }

while – แผนภาพแสดงการทำงาน

while - ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> #include <conio.h> int count=0; void main() { while(count<5){ printf(“Line %d\n”, ++count); count++; } getch(); Line 1 Line 2 Line 3 Line 4 Line 5

การควบคุมทิศทางแบบวนรอบ do - while { statement_1; statement_2; ... statement_n; }while(condition) ; do statement; while(condition)

แผนภาพแสดงการทำงาน do - while

do - while - ตัวอย่างการใช้งาน /* This example prompts users for a password */ /* and continued to prompt them until they */ /* enter one that matches the value stored in */ /* checkword. */ #include <stdio.h> #include <string.h> #include <conio.h> void main () { char checkword[80] = “pentium"; char password[80] = ""; do{ printf ("Enter password: "); scanf("%s", password); }while(strcmp(password, checkword)); printf(“Correct”); getch(); }

การควบคุมทิศทางแบบวนรอบ – for เป็นคำสั่งแบบวนรอบที่รวมเอาทั้งการกำหนดค่าเริ่มต้น,เงื่อนไข,และการเปลี่ยนแปลงค่าเริ่มต้นไว้ด้วยกัน for(initial; condition; change) { statement_1; ... } initial กำาหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปร ตัวแปรนี้จะถูกนำมาใช้ในเงื่อนไข condition เงื่อนไขที่กำหนดจากตัวแปรเพื่อให้โปรแกรมวนรอบ change ส่วนที่เปลี่ยนค่าตัวแปรเพื่อนำไปใช้ตรวจสอบเงื่อนไขใน รอบถัดไปโดยอาจเป็นการเพิ่มหรือลดค่าของตัวแปรทีละ1หรือมากกว่า

for – แผนภาพแสดงการทำางาน

for – ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> int count=0; void main() { for(count=1; count<=12; count++) printf(“Line %d\n”, count*5); }

คำสั่งประกอบการควบคุมทิศทาง break ใช้ร่วมกับคำสั่งควบคุมทิศทางแบบเงื่อนไขหรือวนรอบ switch, for, while, และ do เพื่อให้โปรแกรมออกจากลูปเลือกทำหรือลูปวนรอบในสุดที่กำลังทำอยู่ continue ใช้ร่วมกับคำสั่งควบคุมทิศทางแบบวนรอบ มีผลทำให้โปรแกรมหยุดการทำงานในรอบปัจจุบันแล้วไปเริ่มการทำงานในรอบใหม่ exit() ใช้ออกจากการทำงานของโปรแกรม อยู่ในไลบราลี stdlib.h

break - ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> #include <conio.h> int count=0, num; void main() { clrscr(); while(count<10){ printf(“Enter Number (0 for quit): ”); scanf(“%d”, &num); if(num==0){ printf(“Quit Loop”); break; printf(“This message will never be reached”); } // end If else printf(“You Enter %d\n”, num); } // end While getch(); }

continue - ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> #include <conio.h> int i; double array[] = {5, 0, 9, 2, 10}; void main () { for(i = 0; i < 5; i++) if(array[i] == 0) continue; printf(“1/%.02f = %.02f\n”, array[i], 1/array[i]); } getch(); 1/5.00 = 0.20 1/9.00 = 0.11 1/2.00 = 0.50 1/10.00 = 0.10

exit() - ตัวอย่างการใช้งาน #include <stdio.h> #include <stdlib.h> #include <conio.h> float x, y, z; void main() { clrscr(); printf(“Enter 2 numbers (x/y): ”); scanf(“%f/%f”, &x, &y); if(y==0){ printf(“Error, divided by zero”); exit(0); } else printf(“x/y = %f”, x/y); getch();

END