Chloramphenicol กลไกการออกฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
โรคเฮโมรายิกเซฟติกซีเมีย (โรคคอบวม)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
AMINOGLYCOSIDES เป็นยากลุ่มที่นิยมใช้น้อยกว่ากลุ่มเพนนิซิลลินเนื่องจากมีความเป็นพิษสูง แต่สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินทำให้สามารถออกฤทธิ์เพิ่มได้อย่างทวีคูณ.
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
สารสกัดจากมังคุด สารสกัดจีเอ็ม-1 (GM-1) สารสกัดแทนนิน (Tannin)
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โพรโทซัว( Protozoa ).
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
สารเมลามีน.
whey เวย์ : casein เคซีน
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
สิ่งที่แม่ควรรู้ >>>กลไกการหลั่งน้ำนม
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะไตวาย.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคเบาหวาน ภ.
Nipah virus.
เหตุการณ์สำคัญทางเทคโนโลยีในมุมมองของนักเคมี III. สุขภาพและการแพทย์ ความรู้ทางด้านเคมีได้มีส่วนช่วยชีวิตคนจำนวนมากทางด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ทำให้ เรามีชีวิตอยู่ยืนยาวขึ้น.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
กำมะถัน (Sulfur).
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SEPSIS.
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chloramphenicol กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย และมีผลต่อกระบวนการสร้างโปรตีนในไมโตคอนเดรียในเซลกระดูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมด้วย ทำให้มีความเป็นพิษต่อตัวโฮสต์และออกฤทธิ์เป็นแบบ bacteriostatic Chloramphenicol

"ห้ามใช้ใน food animals" เนื่องจากมีรายงานพบว่าอาจมีการถ่ายทอดการ ดื้อยาไปสู่คนได้และยาอาจมีพิษต่อโฮสต์ขึ้นกับความไวต่อการได้รับยาของแต่ละคน Chloramphenicol

ฤทธิ์ทางเภสัชจลนศาสตร์ ขอบเขตการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์กว้างทั้งต่อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ ฤทธิ์ทางเภสัชจลนศาสตร์ 1. Absorption สามารถดูดซึมได้ดีทั้งการกินและฉีดเพราะเป็น non-ionized, highliy lipid soluble 2. Distribution สามารถผ่าน membrane barrier ได้ดีมากทำให้กระจายตัวได้ดีในทุกอวัยวะ ยกเว้นต่อมลูกหมาก * Chloramphenicol ดูดซึม และกระจายได้ดีที่สุดในบรรดายาต้านจุลชีพทั้งหมด Chloramphenicol

ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ *สามารถผ่าน blood brain barrier ได้และผ่าน placental barrier ได้ Metabolism & Excretion ยาจะถูกขับออกทางไต ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ ความเป็นพิษโดยเฉพาะในคน อาจทำให้ถึงตายได้ คือ ทำให้เกิด "Grey syndrome" ในทารกแรกคลอด เพราะว่าระบบไหลเวียนของโลหิตล้มเหลว กดการทำงานของไขกระดูก ทำให้เกิดโลหิตจาง โดยเฉพาะคนและแมว (แม้จะให้ยา dose ต่ำและเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร Chloramphenicol

และมีรายงานว่าในทุกๆ 25,000-60,000 คนที่ได้รับยานี้จะพบว่ามีคนเป็นอันตรายจากยาจนถึงเสียชีวิต เนื่องจากเกิด aplastic anemia จำนวน 1 คน (Del Giacco et al., 1981 อ้างโดย มาลินี, 2540) และการใช้ในสัตว์ ไม่น่าจะพบอันตรายถ้าให้ในขนาดที่แนะนำในเวลาไม่เกิน 10 วัน มีฤทธิ์หักล้างกับยาที่ออกฤทธิ์แบบ bactericidal เช่น ยาในกลุ่ม Penicillin กลุ่ม Macrolides และกลุ่ม Lincosamides Chloramphenicol

การใช้ยา 1. ใช้เป็นยาหยอดตา เพราะว่าสามารถดูดซึมเข้าในลูกตาได้ 2. ใช้เป็นยารักษาการติดเชื้อในระบบประสาท 3. อาจใช้ในระบบทางเดินหายใจ โดยทั่วไปแล้ว drug of choices ในการรักษาโรคระบบนี้คือ Tetracycline, Ampicillin, Amoxycillin หรือ Tylosin แต่จะใช้ Chloramphenicol เฉพาะในสัตว์ที่ใช้ยาเหล่านี้มาแล้วไม่ได้ผล 4. กรณี systemic Typhoid fever (Salmonellosis) Chloramphenicol

ขนาดที่แนะนำ (มาลินี, 2540) สรุป การใช้ยา Chloramphenicol ในสัตว์ หลีกเลี่ยงการใช้ยาในสัตว์ที่เป็นอาหาร Systemic effect : ควรใช้กรณีสุดท้าย หลังจากที่ใช้ยาตัวอื่นแล้วไม่ได้ผล หรือ local : หยอดตา Chloramphenicol

Quinolones กลไกการออกฤทธิ์ ขอบเขตการออกฤทธิ์ เป็นกลุ่มยาที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ แต่ได้จาก by-product ของการสังเคราะห์ยารักษามาเลเรีย คือ chloroquine กลไกการออกฤทธิ์ ขัดขวางการสังเคราะห์ DNA bactericidal effect ขอบเขตการออกฤทธิ์ ยาตัวแรกๆ ในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมลบเป็นส่วนใหญ่ แต่ยาที่ค้นพบตัวใหม่ๆ จะออกฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ โดยเฉพาะต่อแบคทีเรียแกรมบวกที่ดื้อต่อยาเพนนิซิลลิน ต่อเชื้อไมโคพลาสมาและต่อเชื้อโปรโตซัวด้วย Quinolones

การจำแนกยาในกลุ่ม การใช้ยา ยารุ่นที่ 1 คือ Chloroquinolone, Flumiquine และ Oxolinic acid ให้กินวิธีเดียว ยารุ่นที่ 2 คือ กลุ่ม Fluoroquinolone เช่น Norfloxacin, Ciprofloxacin, Enrofloxacin เป็นต้น สามารถใช้ฉีดและออกฤทธิ์ได้ดีกว่า การใช้ยา จัดเป็น drug of choices ในการรักษาการติดเชื้อในระบบขับถ่ายปัสสาวะและเหมาะกับการใช้รักษาโรคในระบบทางเดินหายใจ Quinolones

Ciprofloxacin Norfloxacin ยาสามารถออกฤทธิ์กว้างทั้งแบคทีเรียแกรมบวก แกรมลบ เชื้อ ไมโคพลาสมา เชื้อคลาไมเดีย และเชื้อริคเกทเซีย ยาถูกดูดซึมและกระจายตัวได้ดีมากและขับออกทางไต เหมาะสมที่จะใช้รักษาการติดเชื้อที่ผิวหนังโดยเฉพาะในสัตว์เลี้ยง รวมทั้งการติดเชื้อในระบบขับถ่ายปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ Norfloxacin การออกฤทธิ์คล้ายคลึงกับ ciprofloxacin Quinolones

Enrofloxacin มีขอบเขตในการออกฤทธิ์อย่างกว้างขวาง ยามีการดูดซึมได้ดีในสัตว์ไม่ว่าจะโดยการฉีดหรือให้กินยา ระดับยาในเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ จะอยู่สูงกว่าที่พบในเลือด พบว่าเมตาโบไลท์ของยาที่พบในเลือดคือ ciprofloxacin สามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้อีกด้วย แนะนำให้ใช้สำหรับโรคของระบบทางเดินหายใจในโค โรคเต้านมอักเสบและโรคปอดบวมในสุกรโดยเฉพาะ รวมทั้งแนะนำให้ใช้สำหรับโรคติดเชื้อของระบบทางเดินอาหารในสัตว์ด้วย Quinolones

ตาราง แสดงขนาดและวิธีให้ยาในกลุ่มฟลูออโรควิโนโลนที่อนุญาตให้ใช้ ในสัตว์ (Brown, 1996 อ้างโดย มาลินี, 2540) Quinolones