การแกว่ง ตอนที่ 2.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การวิเคราะห์ความเร็ว
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
Tacoma Narrowed Bridge
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
Electronic Circuits Design
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
Electronic Circuits Design
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแกว่ง ตอนที่ 2

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 1 ถ้าความถี่เท่ากัน และเฟสตรงกัน

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 2 ถ้าความถี่เท่ากัน และเฟสตรงกันข้าม

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 3 ถ้าความถี่ต่างกัน และเฟสตรงกัน อัมปลิจูดเท่ากัน อัมปลิจูดรวม

ตัวอย่างกรณีนี้ การเกิดบีตส์ของคลื่นเสียง ตัวอย่างกรณีนี้ การเกิดบีตส์ของคลื่นเสียง ซึ่งเกิดเมื่อคลื่นเสียง 2 ขบวนความถี่ต่างกันเล็กน้อย( ไม่มากกว่า 7 Hz) รวมกัน ดูโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 4 ถ้าความถี่ อัมปลิจูด มุมเฟสตรงกัน

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 5 ถ้าความถี่ เท่ากัน มุมเฟสตรงกัน 90

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 6 ถ้าความถี่ เท่ากัน มุมเฟสตรงกัน 90

การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 7 ถ้าความถี่ เท่ากัน มุมเฟสตรงกัน 45

กรณีอื่น ๆ ให้ดูจากตารางที่ 6.14 ในหนังสือฟิสิกส์ 2 ของจุฬาลงกรณ์

การแกว่งที่ถูกหน่วง(Damp Oscillation) เป็นการแกว่ง หรือ สั่น ที่อัมปลิจูดลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจากพลังงานลดลง เนื่องจากมีแรงต้าน

สมการขนาดการกระจัด ของการแกว่งที่ถูกหน่วง ค่าคงที่ของแรงต้าน

ความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency) คือ ความถี่กี่สั่นหรือแกว่งโดยอิสระ ของอนุภาค หลังจากถูกกระตุ้นด้วยแรงภายนอก การแกว่งของชิงช้าหลังจากถูกผลัก

การแกว่งเนื่องจากถูกแรงบังคับ แรงคืนตัว แรงหน่วง

วิเคราะห์จะพบว่า อนุภาคจะแกว่งแบบหน่วง ด้วยความถี่เท่ากับความถี่ของแรงภายนอก และอัมปลิจูดคงที่ โดยอนุภาคจะสูญเสียพลังงานให้ตัวกลางตลอดเวลา เท่ากับ พลังงานที่รับจากแรงภายนอก ขึ้นกับอัมปลิจูดและความถี่ของแรงภายนอก คงที่ พลังงานให้ พลังงานเสีย

จะแกว่งด้วยอัมปลิจูดมากสุดเมื่อ และเมื่อแรงภายนอกที่มีอัมปลิจูดคงที่ แต่ความถี่เปลี่ยนแปลง มากระทำต่ออนุภาค พบว่าจะมีความถี่ของแรงภายนอกค่าหนึ่ง ที่ทำให้อนุภาคแกว่งด้วยอัมปลิจูดมากสุด เรียกความถี่ค่านี้ว่า ความถี่อภินาท (Resonance) จะแกว่งด้วยอัมปลิจูดมากสุดเมื่อ