Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Advertisements

คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน
บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
ความน่าจะเป็น Probability.
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
BC320 Introduction to Computer Programming
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Functional programming part II
Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities
Chapter 6: Sampling Distributions
Chapter 7: Point Estimation
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
Chapter 8: Interval Estimation
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
Chapter 5: Functions of Random Variables. สมมติว่าเรารู้ joint pdf ของ X 1, X 2, …, X n --> ให้หา pdf ของ Y = u (X 1, X 2, …, X n ) 3 วิธี 1. Distribution.
ฟังก์ชัน(Function).
Probability & Statistics
Probability & Statistics
Simulation Fundamentals of AMCS.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
Quick Review about Probability and
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
Image Processing & Computer Vision
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
Function and Their Graphs
Polynomial and Rational functions
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
แสนศักดิ์ นาคะวิสุทธิ์
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ครูรัตติยา บุญเกิด.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
2 Random Signals Asst. Prof. Dr. Peerapol Yuvapoositanon, PhD, DIC
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Part II, Chapter 4 Probability and Random Variable (Review)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Important probability distribution of variable
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities EC 625 อ.ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล

2.1 ตัวแปรสุ่ม (Random variables) Def 1: “Random Variable” = ฟังก์ชั่นที่มีค่าเป็นตัวเลขจริง (real value) ซึ่งนิยามบนสมาชิกของ Sample Space ตัวแปรสุ่มแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง (Discrete R.V.) ตัวแปรสุ่มซึ่งมีพิสัย (range) เป็นเซตซึ่งมีจำนวนนับได้ (countable = finite หรือ countable infinite) ตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง (Continuous R.V. ) ตัวแปรสุ่มซึ่งมีพิสัย (range) เป็นเซตของจำนวนจริง(real number) หรือเป็นช่วงของจำนวนจริง

2.2 Probability Distribution Def.2 : ถ้า X เป็น discrete r.v., Probability Distribution Function of X คือฟังก์ชั่นที่กำหนดโดย f(x) = P(X=x) สำหรับค่า x ทุกๆค่าใน range ของ X Th’m 1: ฟังก์ชั่น f(x)ใดๆจะสามารถเป็น p.d.f. ได้จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ for all x in domain of f(x) เมื่อรวมสำหรับ x ทั้งหมด ใน domain ของ f(x)

Probability Distribution (ต่อ) Def.3: ถ้า X เป็น Discrete r.v., Distribution fn. หรือ Cumulative dist. fn. Of X คือฟังก์ชั่นที่กำหนดโดย สำหรับ ฟังก์ชั่นการแจกแจงความน่าจะเป็นสะสมของ X ค่าใดค่าหนึ่ง = ความน่าจะเป็นที่ X จะมีค่าน้อยกว่า หรือเท่ากับค่านั้นๆ

Probability Distribution (ต่อ) คุณสมบัติ ของ Cumulative Dist. Fn. และ F(x) เป็น Nondecreasing fn. : ถ้า และ แล้วจะได้ว่า 4. ถ้า range ของ Discrete r.v. X ประกอบด้วยค่า จะได้ว่า และ สำหรับ i= 2,3,…,n

2.3 Probability Density Function Def.4 : สมมติให้ , ฟังก์ชั่น f(x) จะถือเป็น prob. density fn. (pdf.) ของ Continuous r.v. X ก็ต่อเมื่อ สำหรับ

Probability Density Function (ต่อ) ข้อแตกต่างที่สำคัญที่สุดของ Prob. Dist. กับ Prob. Density Prob.Dist. Fn. : Prob.Density Fn. : แต่

Probability Density Function (ต่อ) การที่ P(X=x) = 0 ทำให้เราได้ว่า Th’m 2: ถ้า X เป็น Cont. r.v. และ โดยที่ จะได้ว่า เราสามารถเปลี่ยนแปลงค่าบางตำแหน่งของ pdf. ได้โดยไม่มีผลให้ค่าความน่าจะเป็นที่คำนวณจาก pdf. นั้นๆมีผลเปลี่ยนแปลงไปเลย

Th’m 3: ฟังก์ชัน f(x) ใดๆ จะสามารถเป็น pdf ได้จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ (1) (2) Def.5: ถ้า X เป็น cont. r.v. ซึ่งมี pdf. ณ จุด t เป็น f(t), Distribution Fn. หรือ Cumulative Distribution Fn. of X คือ ฟังก์ชั่นที่กำหนดโดย สำหรับ

คุณสมบัติของ CDF และ ถ้า และ แล้วจะได้ว่า ถ้า X เป็น Cont. r.v. , และ ถ้า และ แล้วจะได้ว่า ถ้า X เป็น Cont. r.v. , และ จะได้ว่า 5. สำหรับ x ใดๆที่หาค่า derivative ของ F(x) ได้

2.4 Multivariate Distribution ที่ผ่านมาเราสนใจข้อมูลของผลการทดลองเพียงด้านเดียวเท่านั้น เราจะเริ่มพิจารณากรณีที่เราสนใจข้อมูลหลายๆด้านของผลการทดลองพร้อมๆกัน โดยเราจะเริ่มจากกรณีที่เราสนใจข้อมูลเพียง 2 ด้าน ( Bivariate Case) และข้อมูลทั้ง 2 ด้าน เป็น Discrete r.v. ก่อน

Multivariate Distribution (ต่อ) Def.6: ถ้า X & Y เป็น Discrete r.v. , Joint Probability Distribution Function of X & Y คือฟังก์ชันที่กำหนดโดย f(x,y) = P(X=x, Y=y), สำหรับ (x,y) ทุกๆคู่ใน range ของ X และ Y Th’m4 : ฟังก์ชัน f(x,y) ใดๆจะสามารถใช้เป็น Joint pdf. ได้ อย่างน้อยจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ สำหรับทุกคู่ของ (x,y) ซึ่งอยู่ใน Domain ของ f(x,y) เมื่อรวมสำหรับคู่ (x,y) ทั้งหมดใน Domain ของ f(x,y)

Multivariate Distribution (ต่อ) Def.7 : ถ้า X และ Y เป็น Discrete r.v., Joint Dist. Fn. หรือ Joint Cumulative Dist. Fn. of X and Y คือฟังก์ชันที่กำหนดโดย สำหรับ

Multivariate Distribution (ต่อ) กรณี ที่ X,Y เป็น Cont. r.v. Def.8 : สมมติให้ ฟังก์ชัน f(x,y) จะถือเป็น Joint Prob. Density Fn. ของ r.v. X และ Y ก็ต่อเมื่อ สำหรับ region A ใดๆในระนาบ XY

Th’m5: ฟังก์ชัน f(x,y) ใดๆจะสามารถเป็น Joint pdf 1. สำหรับ 2. Def. 9: ถ้า X&Y เป็น Cont. r.v. ซึ่งมี pdf. ณ จุด (s,t) ใดๆ = f(s,t), Joint cdf. of X&Y คือฟังก์ชันที่กำหนดโดย สำหรับ

Multivariate Distribution (ต่อ) Th’m 6: คุณสมบัติของ Joint cdf. (คุณสมบัตินี้เป็นจริงทั้งในกรณี X,Y เป็น discrete และเป็น cont. r.v.) ถ้า a<b และ c<d แล้วจะได้ว่า สำหรับ คู่ (x,y) ใดๆที่หา ได้

Multivariate Distribution (ต่อ) Def.10: กรณี Discrete r.v.

Multivariate Distribution (ต่อ) Def.11: กรณี Continuous r.v.

2.5 Marginal Distribution Def.12: (กรณี Discrete r.v.) สมมติให้ f(x,y) เป็น Joint pdf. of X&Y - ฟังก์ชัน g(x) จะถือเป็น marginal pdf. of X ก็ต่อเมื่อ สำหรับ ทุกค่า x ใน range ของ X - ฟังก์ชัน h(y) จะถือเป็น marginal pdf. of Y ก็ต่อเมื่อ สำหรับ ทุกค่า y ใน range ของ Y

Marginal Distribution(ต่อ) Def.13: (กรณี Cont. r.v.) สมมติให้ f(x,y) เป็น Joint pdf. of X & Y - ฟังก์ชั่น g(x) จะถือเป็น marginal pdf. of X ก็ต่อเมื่อ สำหรับ - ฟังก์ชั่น h(y) จะถือเป็น marginal pdf. of Y ก็ต่อเมื่อ

Marginal Distribution(ต่อ) Def.14: กรณีที่มี Discrete r.v. มากกว่า 2ตัว Marginal pdf. of X1 Joint marginal pdf. of X1 ,X2 , X3

Marginal Distribution (ต่อ) Def.15: กรณีที่มี Continuous r.v. มากกว่า 2ตัว Marginal pdf. of X2 Joint marginal pdf. of X1&X2

2.6 Conditional Distribution Def.16: กรณี Discrete r.v. สมมติให้ f(x,y) เป็น Joint pdf. of X&Y และ h(y) เป็น marginal pdf. of Y จะได้ว่า Conditional distribution of X given Y=y จะมีค่าเป็น Def.17: กรณี Cont. r.v. สมมติให้ f(x,y) เป็น Joint pdf. Of X&Y และ h(y) เป็น marginal pdf. of Y จะได้ว่า Conditional density of X given Y=y จะมีค่าเป็น

Def. 18: ถ้า เป็น joint pdf. ของ random variables n ตัว และ Def.18: ถ้า เป็น joint pdf. ของ random variables n ตัว และ เป็น marginal pdf. ของ Xi (i=1,2,…n) จะได้ว่า r.v. ทั้ง n ตัว จะเป็นอิสระต่อกัน (independent) ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกค่าของ