Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 แผนการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
Advertisements

การสุ่มงาน(Work Sampling)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ความน่าจะเป็น Probability.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 6: Sampling Distributions
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
Chapter 7: Point Estimation
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
Chapter 8: Interval Estimation
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
Simulation Fundamentals of AMCS.
สถิติ.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
Quick Review about Probability and
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
Menu Analyze > Correlate
แสนศักดิ์ นาคะวิสุทธิ์
การทดสอบสมมติฐาน
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
Week 11 Basic Programs 2.
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่องต่าง ๆ
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
พิทยา ครองยุทธ พิทยา ครองยุทธ ผู้เขียนเนื้อหา ผู้เขียนเนื้อหา เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความ น่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม เรื่อง ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความ.
The Hypergeometric Distribution
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Important probability distribution of variable
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities

4.1 Discrete Uniform Distribution Def 1: ตัวแปรสุ่ม X จะมีการแจกแจงแบบ discrete uniform distribution หรือเป็น discrete uniform r.v. ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น f(x) = for x = x1, x2, …, xk; where xi xj when i j

4.2 Bernoulli Distribution Def 2: ตัวแปรสุ่ม X จะมีการแจกแจงแบบ Bernoulli distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x = 0, 1 และ

4.3 Binomial Distribution Def 3: ตัวแปรสุ่ม X จะมีการแจกแจงแบบ Binomial Distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x = 0, 1,…, n และ NOTE: Binomial Expansion สำหรับตัวเลขจำนวนนับใดๆ

Th’m 3: Moment-generating function ของ binomial distribution จะมีค่าเป็น

4.4 Geometric Distribution Def 4: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Geometric distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x = 1, 2, 3, … และ

4.4 Geometric Distribution Def 4: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Geometric distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x = 1, 2, 3, … และ ค่าเฉลี่ย & ความแปรปรวนของ Geometric r.v. และ

4.5 Hypergeometric Distribution Def 5: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Hypergeometric distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x = 0, 1, 2,…, n และ

4.6 Poisson distribution ตัวแปรสุ่มที่เกิดขึ้นเมื่อเราพิจารณาจำนวนครั้งที่เกิดขึ้นของเหตุการณ์ที่เราสนใจ (ความสำเร็จ) ภายในช่วงระยะเวลา (หรือพื้นที่/ความยาว/ปริมาตร) ที่ต่อเนื่องกันช่วงหนึ่ง Ex: - จำนวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นต่อเดือนในเขต กทม. - จำนวนครั้งที่มีผู้โทร 1133 ในแต่ละวัน - จำนวนเด็กที่เกิดในประเทศไทยในหนึ่งวัน

4.6 Poisson distribution คุณสมบัติของ Poisson Distribution (ซึ่งมี parameter ) 1. เมื่อเราแบ่งช่วงเวลา/พื้นที่ให้เล็กลงมากๆ ความน่าจะเป็นของการเกิดขึ้นของความสำเร็จในช่วงเวลาสั้นๆ ดังกล่าว จะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับขนาดของช่วงเวลานั้นๆ --> ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความสำเร็จในช่วงเวลาสั้นๆ h จะประมาณได้ด้วย 2. ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความสำเร็จมากกว่าหนึ่งครั้งในช่วงเวลาสั้นๆมีค่าน้อยมาก (ประมาณศูนย์) 3. จำนวนครั้งของความสำเร็จที่เกิดขึ้นในสองช่วงเวลาซึ่งไม่ทับซ้อนกัน (non-overlapping) จะเป็นอิสระต่อกัน

4.6 Poisson distribution Def 6: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Poisson distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x = 0,1,2,… ค่าเฉลี่ย & ความแปรปรวนของ poisson distribution และ

Th’m 4: Moment-generating function ของ poisson distribution จะมีค่าเป็น

คุณสมบัติของค่า e

4.7 Multinomial distribution Binomial: พิจารณาการทดลองซ้ำ n ครั้ง โดยการทดลองแต่ละครั้งมีผลการทดลองอยู่ 2 แบบ (สำเร็จ/ล้มเหลว) Multinomial: พิจารณาการทดลองซ้ำ n ครั้ง โดยแต่ละครั้งมีผลการทดลองอยู่ k แบบ - Prob ของการเกิดผลการทดลองแต่ละแบบมีค่าคงที่ (เท่ากันทุกการทดลอง) - ผลการทดลองแต่ละครั้งเป็นอิสระต่อกัน ตัวแปรสุ่ม Xi = จำนวนครั้งของการเกิดผลการทดลองแบบ i (i = 1, 2, …, k) จะมีการกระจายตัวแบบ Multinomial

4.7 Multinomial distribution Def 7: ตัวแปรสุ่ม จะมี Multinomial distribution ก็ต่อเมื่อ joint pdf เป็น for = 0,1,2,…,n where and

4.8 Multivariate Hypergeometric distribution Def 8: ตัวแปรสุ่ม จะมี Multivariate Hypergeometric distribution ก็ต่อเมื่อ joint pdf เป็น for and where and

4.9 Continuous Uniform Distribution Def 9: ตัวแปรสุ่ม Xจะมี continuous uniform distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for elsewhere ค่าเฉลี่ย & ความแปรปรวนของ continuous uniform distribution คือ และ

4.10 Gamma, Exponential and Chi-Square Distributions Def 10: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Gamma distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x > 0 elsewhere where and for

Def 11: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Exponential distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x > 0 elsewhere where NOTE: Exponential Dist = Gamma Dist with

Def 12: ตัวแปรสุ่ม X จะมี Chi-square distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for x > 0 elsewhere *** คือ degrees of freedom NOTE: Chi-Sq Dist = Gamma Dist with

Th’m 5: The rth about the origin of the gamma distribution คือ และ

ค่าเฉลี่ย & ค่าความแปรปรวน ของ exponential distribution คือ และ ค่าเฉลี่ย & ค่าความแปรปรวน ของ chi-square distribution คือ

Th’m 6: The moment generating fn of the gamma distribution คือ

4.11 Beta distribution Def 13 : ตัวแปรสุ่ม X จะมี beta distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for 0 < x < 1 elsewhere where and

ค่าเฉลี่ย & ค่าความแปรปรวน ของ beta distribution คือ และ

for 4.12 Normal Distribution Def 14: ตัวแปรสุ่ม X จะมี normal distribution ก็ต่อเมื่อ pdf of X เป็น for where Symmetry

Th’m 7: The moment generating fn of the normal distribution คือ

Def 15: Standard normal distribution คือ normal distribution ที่มี ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน --> pdf of Standard Normal r.v.

Th’m 8: ถ้า X มี normal distribution โดยที่ mean และ sd จะได้ว่าตัวแปรสุ่ม จะเป็น standard normal distribution

การประมาณค่า Binomial ด้วย Normal Distribution “De Moivre - Laplace Limit Theorem” Th’m 9: ถ้าตัวแปรสุ่ม X มี binomial distribution โดยมี parameter n และ ( ) จะได้ว่าสำหรับ ค่าคงที่ a และ b ใดๆ

Th’m 10: คุณสมบัติของ MGF 1. MX(t) = MY(t) ก็ต่อเมื่อ pdf of X = pdf of Y 2. ถ้า lim ของ MX(t) มีค่าเข้าสู่ MY(t) จะได้ว่า lim ของ pdf of X มีค่าเข้าใกล้ pdf of Y Standardized binomial จะเข้าใกล้ standard normal distribution เมื่อ (และ มีค่าที่ไม่ใกล้เคียง 0 หรือ 1 จนเกินไป)

5.6The Bivariate Normal Distribution Def 16: ตัวแปรสุ่ม X และ Y คู่หนึ่งมี bivariate normal distribution ก็ต่อเมื่อ joint pdf เป็น for and where and

คุณสมบัติสำคัญของ Bivariate Normal Distribution 1. Joint pdf ถูกกำหนดด้วย parameter 5 ตัว: 2. Marginal pdf of X จะเป็น Normal Dist ซึ่งมี 3. Marginal pdf of Y จะเป็น Normal Dist ซึ่งมี 4. = Correlation Coeff. แสดงถึง corr ของ r.v. X & Y

5. Conditional pdf of Y given X=x จะเป็น Normal Dist ซึ่งมี 6. Conditional pdf of X given Y=y จะเป็น Normal Dist ซึ่งมี 7.ถ้า X & Y เป็น bivariate normal, X & Y จะเป็นอิสระต่อกัน ก็ต่อเมื่อ (หรือ cov(X,Y) = 0)