ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Ground State & Excited State
Law of Photochemistry.
“Non Electrolyte Solution”
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
2NO 2 = N 2 O 4 ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ความเข้มข้น เวลา N2O4N2O4 NO ทดลองเพื่ออะไร.
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
Phase equilibria The thermodynamics of transition
Laboratory in Physical Chemistry II
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
การทดลองที่ 5 Colligative property
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
พิจารณาโครงสร้างของฟังก์ชันที่นิยามโดยปริยายดังนี้
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
พลังงานภายในระบบ.
(Internal energy of system)
Chapter 6 Thermodynamic Properties of Fluids
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วงรี ( Ellipse).
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
หน้า 1/6. หน้า 2/6 กำลัง หมายถึง อัตราการทำงาน หรือ สิ่งที่บ่งบอกว่า งานที่ทำในเวลานั้น ๆ มีมาก น้อยเพียงไร การคิดจะคล้ายกับงาน นั่นคือ ถ้า เมื่อไรก็ตาม.
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
สมบัติของสารละลาย (Colligative properties)
Chemical equilibrium Thermodynamic background 4.1 The reaction Gibbs energy Gibbs energy ของปฏิกิริยา แทนด้วย  r G ปฏิกิริยาเคมีจะอยู่ที่สมดุล ณ ความดันและ.
อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics)
Property Changes of Mixing
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ จากสมการ: และจาก G = H-TS ; - S = G-H T จะได้

dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2) สมการพื้นฐานทางเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ 1 : DU = q + W หรือ dU = Dq + DW dU = TdS - PdV ... (1) นิยาม H = U + PV dH = dU + d(PV) = (TdS - PdV) + (PdV + VdP) dH = TdS + VdP ...(2)

นิยาม A = U - TS dA = dU - d(TS) dA = - PdV - SdT .... (3) นิยาม G = H - TS dG = dH - d(TS) dG = VdP - SdT ... (4)

U = U (V,S) H = H (P,S) A = A (V,T) G = G (P,T) dU = TdS - PdV dH = TdS + VdP A = A (V,T) dA = - PdV - SdT G = G (P,T) dG = VdP - SdT

รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง G, H กับ T slope = CP TS G = H T ฎ slope = - S G รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง G, H กับ T เมื่อ P คงที่

ข้อสังเกต: ความชันของ H เป็นบวก เนื่องจาก ซึ่งมีค่าเป็นบวกเสมอ ความชันของ G เป็นลบ เนื่องจาก และค่า S เป็นบวกเสมอ

DH energy change slope = DCP slope = - DS DG T (K) ฎ

สมดุลเคมีสำหรับปฏิกิริยาเคมี การเกิดสภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี มีลักษณะเป็น ไดนามิกส์ คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า เท่ากับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ A + B C + D k k’ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = k[A][B] อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ = k’[C][D]

k[A][B] = k’[C][D] ที่สมดุล จะได้ เมื่อ k และ k’ เป็นค่าคงที่อัตราของการเกิดปฏิกิริยา ไปข้างหน้า และย้อนกลับตามลำดับ [A], [B], [C] และ [D] คือความเข้มข้นของสาร A, B, C และ D ตามลำดับ ที่สมดุล จะได้ k[A][B] = k’[C][D] เมื่อ K คือ ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา (chemical equilibrium constant)

dG = VdP ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับความดัน จากสมการ dG = VdP - SdT เมื่ออุณหภูมิคงที่ (dT = O) :

for Solid & Liquid หรือ DG = G(T,P) - GO(T) = V(P2 - P1) DG = V(P2 - P1) V ไม่เป็นฟังก์ชันกับ P หรือ DG = G(T,P) - GO(T) = V(P2 - P1) G(T,P) = GO(T) - V(P2 - 1) หรือ G(T,P) GO(T) เมื่อ P2 P1 = 1 atm

for ideal gas : PV = nRT

k[A][B] = k’[C][D] ที่สมดุล จะได้ เมื่อ k และ k’ เป็นค่าคงที่อัตราของการเกิดปฏิกิริยา ไปข้างหน้า และย้อนกลับตามลำดับ [A], [B], [C] และ [D] คือความเข้มข้นของสาร A, B, C และ D ตามลำดับ ที่สมดุล จะได้ k[A][B] = k’[C][D] เมื่อ K คือ ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา (chemical equilibrium constant)

Chemical Equilibrium ถ้าพิจารณาปฏิกิริยา aA + bB cC + dD จากสมการ ความสัมพันธ์ระหว่าง DGo กับค่า Equilibrium Constant (K) จากสมการ ถ้าพิจารณาปฏิกิริยา aA + bB cC + dD โดยที่ A,B,C,D, เป็นแก๊ส

จะได้

(PA/PoA)a(PB/PoB)b DG - DGo = RT ln (PC/PCo)c (PD/PoD)d DG = DGo + RT ln Q Q = reaction quotient = activity of products activity of reactants

ที่ equilibrium: (PA/PAo)a(PB/PBo)b DG = O DGo = - RT ln (PC/PCo)c (PD/PDo)d (PA/PAo)a(PB/PBo)b DGo = - RT ln KP KP คือ ค่าคงที่สมดุล (equilibrium constant)

K = [C]c [D]d [A]a [B]b = กรณีที่สารเป็นสารละลาย โดยที่ [C]o = 1 M [D]o = 1 M [A]o = 1 M [B]o = 1 M ([C]/[C]o)c ([D]/[D]o)d ([A]/[A]o)a ([B]/[B]o)b =

ศักย์เคมี m Chemical Potential Molar Gibbs’ Free Energy G =

ในกรณีของของผสม (แก๊สสมบูรณ์แบบ) ค่า chemical potential (m) ของ component i คือ mi = Gi = Gio(T) + RTln Pi เมื่อ Gio คือ standard chemical potential ของ component i Pi คือ ความดันย่อย (partial pressure)

จากความสัมพันธ์: Pi = xi P (Dalton’s Law) เมื่อ P = ความดันรวม (total pressure) จะได้ Gi = Gio(T) + RTln P + RTlnxi เป็นค่า chemical potential ของ pure component i ที่ความดันเท่ากับ P

เมื่อ xi = 1 จาก Gi = Gio(T) + RTln P + RTlnxi Gi pure (T,P)

จาก Gi = Gipure(T,P) + RT lnxi ดังนั้น สำหรับตัวทำละลาย (solvent) : (1) G1 = G1pure(T,P) + RT lnx1 (2) สำหรับตัวถูกละลาย (solute) : G2 = G2pure(T,P) + RT lnx2

G2 = G2pure(T,P) + RT ln m2 ในกรณีของ non-ideal solution หรืออาจเขียนอยู่ในรูปของ molality (m) หรือ molarity (M) แทน mole fraction (x) ได้ เช่น G2 = G2pure(T,P) + RT ln m2 ในกรณีของ non-ideal solution Lewis เสนอให้ใช้ เทอม activity (a) แทน ความเข้มข้น

สารที่มีพฤติกรรมคล้าย ideal solution G2 = G2pure(T,P) + RT ln a2 โดยที่ สารที่มีพฤติกรรมคล้าย ideal solution มี ค่า g ฎ 1

Fugacity and Activity Pressure (P) Fugacity ( f ) Concentration (C) ideal gas Fugacity ( f ) real gas Concentration (C) ideal solution Activity (a) real solution

Mole fraction: จำนวนโมลของสารต่อจำนวน โมลทั้งหมดในสารละลาย (ไม่มีหน่วย) Molality: จำนวนโมลของสารในตัวทำละลาย 1000 g (หน่วยเป็น Molal) Molarity:จำนวนโมลของสารในสารละลาย 1000 cm3 (หน่วยเป็น Molar)

Real gas: dm = RT ln f = RT ln (gP) เมื่อ g = f คือ สัมประสิทธ์ของฟูกาซิตี P (fugacity coefficient) สำหรับ ideal gas : f = P กรณีที่ real gas มีความดันน้อยมากๆ จะมีพฤติกรรมแบบ ideal gas นั่นคือ หรือ

ในกรณี ideal gas: Vid = RT P ในกรณี real gas: V = RT P จากสมการ dm = V dP เมื่อ T คงที่ กรณี ideal gas : dmid = Vid dP dm - dmid = (V - Vid) dP

d(m - mid) = (V - Vid)dP ถ้า P ’ ฎ 0: (m - mid) - (m’ - m’id) = ( V - Vid)dP ถ้า P ’ ฎ 0: m’ = m’id ; m’ - m’id = 0 (m - mid) = (V - Vid)dP

ที่ P = 1 atm: หรือ หรือ

หาได้จากพื้นที่ใต้ curve ของ กราฟระหว่าง กับ P เทอม P ฎ ฏ P

จากความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ เมื่อ 1/T = M และ G = N

แทนค่า G = H-TS และ

และ สมการกิบบส์ - เฮล์มโฮลตซ์ (Gibbs-Helmholtz’ equation) สามารถเขียน อยู่ในรูปของ การเปลี่ยนแปลง ฟังก์ชันได้ดังนี้

ความสัมพันธ์ของค่า DGo, K กับอุณหภูมิ DGo = - RT ln KP จาก

แทนค่า สมการกิบบส์ -เฮล์มโฮลตซ์: (Gibbs-Helmholtz’ equation)

ฏ lnK 1/T slope =

1/T lnK slope = เมื่ออุณหภูมิ (T) ของระบบเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยา (คือ ขึ้นกับเครื่องหมายของค่า DH) ฏ lnK slope เป็นบวก แสดงว่า เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ค่า KP ลดลง slope = 1/T