หลักโภชนาการ ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
Protein.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
Chemical Properties of Grain
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การรับมือกับความเปลื่ยนแปลงด้านสุขภาพกายและจิตในวัยสูงอายุ
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
whey เวย์ : casein เคซีน
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นิวทริไลท์ เนเจอรัลมัลติไฟเบอร์
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
ผลไม้ลดความอ้วน.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
อาหาร เพื่อสุขภาพ 16feb11.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักโภชนาการ ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

อาหาร และโภชนาการในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Scope: อาหาร และโภชนาการในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

อัตราการเสียชีวิตจากโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ % %

Chronic diseases โรคเรื้อรังไม่ติดต่อ ส่วนใหญ่ป้องกันได้ ลดหรือกำจัดปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง (ที่แก้ไขได้) การบริโภคแบบสมัยใหม่ การมีกิจกรรม และการออกกำลังกาย

ทุโภชนาการในอดีตและปัจจุบัน โภชนาการขาด ตาย, พิการ disability, การเจริญเติบโตทางร่างกายและสมองช้า ขาดไอโอดีน: brain damage ขาดวิตามินเอ: ตาบอด ปัจจุบัน โภชนาการเกิน น้ำหนักเกิน/โรคอ้วน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวาน

ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง บุหรี่ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วน เบาหวาน, โรคหลอดเลือดสมอง Physical inactivity เบาหวาน, คอเลสเทอรอล ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง แอลกอฮอล์ (ดื่มจัด)

Prevent CVD

Summary Of Strength Of Evidence On Lifestyle Factors And The Risk Of Cardiovascular Disease น่าเชื่อถือ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ปลาและน้ำมันปลา ผักและผลไม้ โปแตสเซียม ไขมันอิ่มตัว ไขมันทรานส์ อาหารโซเดียมสูง น้ำหนักเกิน/โรคอ้วน ดื่มจัด เป็นไปได้ -linolenic acid, Oleic คาร์โบไฮเดรทที่ไม่ใช่แป้ง ธัญพืชขัดสีน้อย ถั่ว plant sterol/stanol โฟเลท คอเลสเทอรอลในอาหาร กาแฟที่ไม่ได้ถูกกรองละเอียด Diet, nutrition and the prevention of chronic diseases. WHO Technical Report Series: 916 Report of a Joint WHO/FAO Expert Consultation 2003

สารอาหาร สารอาหารที่ให้พลังงาน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน วิตามิน เกลือแร่

Healthy Carbohydrate Vegetables Fruits Grains

ชนิดของคาร์โบไฮเดรต Healthy carbs (เชิงซ้อน) ผัก ผลไม้ ธัญพืชไม่ขัดสี มีใยอาหารสูง มีวิตามิน เกลือแร่ ย่อยและดูดซึมช้ากว่า น้ำตาลไม่สูงเร็ว Unhealthy carbs (เชิงเดี่ยว) ย่อยเป็นน้ำตาลได้เร็ว ดูดซึมเร็ว อ้วนง่าย ใยอาหารต่ำ พบในอาหารปรุงแต่ง เบเกอรี ขนมกรุบกรอบ ขนมปังขาว ข้าวขาว เครื่องดื่ม

ความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต แหล่งพลังงานสำคัญ: ENERGY! ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันการสลายโปรตีนในร่างกาย ช่วยในการทำงานของระบบทางเดินอาหาร (fiber)

ชนิดของไขมัน Good fats/oils Bad fats/oils มีกรดไขมันจำเป็น: ไลโนเลอิก ไลโนเลนิก มีกรดไขมันที่มีประโยชน์: 3 (น้ำมันปลา), 9(น้ำมันมะกอก น้ำมันรำ) Bad fats/oils ไขมันอิ่มตัว: saturated fat Hydroginated oil: ไขมันทรานส์ เพิ่มคอเลสเทอรอล โรคหลอดเลือดหัวใจ

ตัวอย่างไขมัน Good fats/oils Bad fats/oils น้ำมันปลา ถั่ว(nuts and seeds) Avocados Cold pressed oils Extra virgin olive oils Safflower/sunflower oil Flax oils Bad fats/oils ไขมันจากสัตว์ เนย ครีม ไขมันทรานส์

ความสำคัญของไขมัน ให้พลังงาน 9 kcal/g เป็น structure fat: fat pad สะสมในรูปไขมันใต้ผิวหนัง/ช่องท้อง เป็นส่วนประกอบ/ความแข็งแรงของเยื่อหุ้มเซลล์ ช่วยในการดูดซึมวิตามิน เกี่ยวกับการสร้างฮอร์โมน เกี่ยวกับการทำงานของสมอง/ระบบประสาท/ความจำ/อารมณ์ สื่อสารระหว่างเซลล์ กรดไขมันจำเป็น ลิโนเลอิก (w-6) ลิโนเลนิก (w-3)

ชนิดของ lipid Simple lipid Compound lipid Miscellaneous lipid กรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ wax: ester of fatty acid sterol ester, vitamin A ester Compound lipid ฟอสโฟลิปิด lipoprotein Miscellaneous lipid sterols: cholesterol fat soluble vitamin

กรดไขมัน Saturated fatty acid (SFA) Polyunsaturated fatty acid (PUFA) palmitic, stearic Polyunsaturated fatty acid (PUFA) linoleic linolenic EPA, DHA Monounsaturate fatty acid (MUFA) oleic Trans fatty acid (TFA) Monounsaturated Fat Sources Omega-6 Polyunsaturated Fat Sources Omega-3 Polyunsaturated Fat Sources Nuts Vegetable oils   Canola oil Olive oil High oleic safflower oil Sunflower oil Avocado   Soybean oil Corn oil Safflower oil Soybean oil Canola oil Walnuts Flaxseed Fish:  trout, herring, and salmon

Visible fat and invisible fat

โปรตีน ปลา เนื้อสัตว์ปีก: เป็ด ไก่ ห่าน เนื้อแดง: หมู วัว ควาย แกะ ถั่ว (legumes and beans) ถั่ว (nuts and seeds)

ความสำคัญของโปรตีน ทำให้เมทาบอลิซึมเหมาะสม จำเป็นในการสร้างฮอร์โมน ส่วนสำคัญในระบบภูมิคุ้มกัน จำเป็นในการเจริญเติบโตและซ่อมแซม สร้างกล้ามเนื้อ แหล่งพลังงานยามขาดแคลน ช่วยรักษาระดับน้ำตาล รู้สึกอิ่ม 4

คุณภาพโปรตีน Net Protein Utilization (NPU) % of ingested food protein that is actually used by the body. Most whole grains alone and most legumes alone have NPUs in the same range as meat. Food NPU  Most meats  65-57%   Eggs  94%   Milk  82%   Soybeans (alone)  61%   Other legumes alone  50-60%   Brown rice  70%   other whole grains 

Healthy, whole food diets อาหารที่กินตามธรรมชาติ เช่น อกไก่ แทนที่จะเป็น chicken nugget ไม่ใช่ processed food เช่นข้าวกล้อง ไม่ใช่ข้าวกึ่งสำเร็จรูป ไม่ใส่สารกันบูด หรือสีผสมอาหาร

Let food be your medicine กินเพื่อสุขภาพดี Let food be your medicine

พลังงานที่ควรได้รับ ความต้องการพลังงาน กลุ่มคน 1600 kcal/d 2000 kcal/d เด็ก 6-13 ปี หญิงวัยทำงาน 25-60 ปี ผู้สูงอายุเกิน 60 ปี 2000 kcal/d วัยรุ่นหญิง-ชาย 14-25 ปี ชายวัยทำงานอายุ 25-60 2400 kcal/d หญิงชายที่ใช้พลังงานมากๆ เช่นเกษตกร ผู้ใช้แรงงาน นักกีฬา

ตารางแนะนำการบริโภคอาหารใน 1 วันของคนไทย กลุ่มอาหาร หน่วยครัวเรือน พลังงาน 1600 2000 2400 ข้าว-แป้ง ทัพพี 8 10 12 ผัก 4(6) 5 6 ผลไม้ ส่วน 3(4) เนื้อสัตว์ ช้อนกินข้าว 9 นม แก้ว 2(1) 1 น้ำมัน น้ำตาลและเกลือ ช้อนชา ใช้น้อยเท่าที่จำเป็น

Composition: Vegetable 4(6) ทัพพี Grain 8 ทัพพี (4 oz) Fruits 3(4) ส่วน Grain 8 ทัพพี (4 oz)

Composition: Moderate 6 ช้อนโต๊ะ 2 (1) แก้ว

Composition: infrequent or small amount

High intake of non-starch polysaccharides (NSP) (protective) Dietary fiber : promote wt loss* Soluble Insoluble fiber *Pereira MA, Ludwig DS. Ped Clin North America 2001;48:969-80.

อาหารสำหรับป้องกันและรักษาไขมันในเลือดสูง

ไขมันในเลือด โคเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ HDL-cholesterol LDL-cholesterol

บริโภคคอเลสเทอรอลในอาหาร < 200 mg/d Source: Two interesting characteristics of thecholesterol absorption process. One is its variability from one individual to another. Most of us are very efficient in absorbing fat from the diet, but when it comes to cholesterol, there is a marked individual variation in the efficiency of this process. This has been demonstrated by a number of detailed studies over the years. One of them is cited here in this diagram. These data are based on a study done at Washington University in St. Louis about 4 years ago and they show that the absorption efficiency of cholesterol in people varies anywhere from about 20% all the way up to almost 90%. So on the left-hand side of the diagram we see these “low absorbers” of cholesterol, on the right hand side we have what we term “hyper absorbers.” In the middle though, we see the bulk of the people fall in the range of 40-60% and we routinely work with a figure of about 50% for the absorption efficiency of cholesterol. It’s important that we try to understand why individuals vary so much in their absorption efficiency of cholesterol because if we can resolve this then we will probably learn why certain cholesterol lowering drugs do not work very well, or even work at all, in some patients.

หลีกเลี่ยงTrans Fatty Acids (TFA) หากกินในปริมาณมาก:  LDL-C;  HDL-C ตัวอย่างของ TFA Stick margarine, cookies, biscuits,โรตี พาย Trans fatty acids (TFA) The usual intake of trans fatty acids is about 2–3% in the United States. Diets high in trans fatty acids can not only raise LDL-C but also lower high-density lipoprotein cholesterol (HDL-C). As a result, increased consumption of foods high in trans fatty acids is not encouraged. Reference: Lichtenstein AH, Ausman LM, Jalbert SM, Schaefer EJ. Effects of different forms of dietary hydrogenated fats on serum lipoprotein cholesterol levels. N Engl J Med 1999;340:1933-1940. Conclusion: บริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและ trans fatty acid Lichtenstein AH et al. N Engl J Med 1999;340:1933-1940

ลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว เพิ่มสัดส่วนไขมันไม่อิ่มตัวมากขึ้น

กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน w-6 fatty acids arachidonic linoleic g- linolenic (GLA)

กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน w-6 fatty acids arachidonic linoleic g- linolenic (GLA) w-3 fatty acids a- linolenic acid eicosapentaenoic acid (EPA) docosahexaenoic acid(DHA) Food Fat (g) w-3 Catfish 4.3 0.3 Mackerel 13.9 2.5 Salmon 10.4 1.4 Sardine 15.5 3.3 tuna 0.5

กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว w-9 fatty acids Oleic acid

สัดส่วนของกรดไขมันในน้ำมันที่ใช้บริโภค Rice bran oil:Surin Bran Oil Co.

Plant Sterol/Stanol Esters Plant sterols/stanols lower cholesterol รบกวนการดูดซึมโคเลสเตอรอล Plant sterol/stanol esters Plant sterols are consumed in our diets and in increased amounts by vegetarians. They are not well absorbed and plant stanols are absorbed to even a lesser degree. Studies have shown that plant sterols/stanols interfere with the micellar absorption of dietary cholesterol. Reference: Law M. Plant sterol and stanol margarines and health. BMJ 2000;320:861-864. Law MR et al. BMJ 2000;320:861-864.

แหล่งของ plant sterol/stanols Oil Campesterol Stigmasterol β-sitosterol Cycloartanol Cycloarternol 24 methylenecycloartanol (mg/100 g oil) รำข้าว 508 271 885 108 482 494 ดอกคำฝอย 45 31 181 1 34 7 ข้าวโพด 410 110 1180 4 8 11 ทานตะวัน 235 - 29 16 เมล็ดฝ้าย 17 400 10 รำ 117 62 382 107 ถั่วเหลือง 72 191 158 ถั่วลิสง 38 21 153 After Itoh et al. 1973a and b.

Soy protein Isolated soy protein, texturized vegetable protein Decreased TC 12.9%, LDL 10.5 % and TG ~25 g/d

Approximate And Cumulative LDL-C Reduction Achievable By Dietary Modification Dietary component Dietary change Approximate LDL reduction Major option SFA Dietary cholesterol Wt reduction < 7% < 200 mg/d Lose 10 lb 8-10% 3-5% 5-8% Other options viscous fiber plant sterol/stanol 5-10 g/d 2 g/d 6-15 % Cumulative estimate 20-30%

Functional Foods

Functional Food (IOM/FNB) อาหารที่ทำหน้าที่อื่นให้กับร่างกายนอกเหนือไปจากหน้าที่ปกติที่ทำอยู่ Any food or food ingredients that may provide a heath benefit beyond the traditional nutrient it contains ส่งเสริมระบบป้องกันตัวเอง ส่งเสริมและควบคุมให้ระบบการทำงานของร่างกายให้ทำงานสม่ำเสมอ ป้องกันหรือชลอความเสื่อม ป้องกันโรคที่เกิดจากโภชนาการผิดปกติ: ไขมันในเลือดสูง ควบคุมหรือลดอาการของโรคเรื้อรังบางชนิด: เบาหวาน โรคหัวใจ

Functional Food from Plant Sources Oat meal fiber Soy protein Fish and fish oil Probiotics Prebiotic Plant sterols and stanols

Oats β- glucan ลดคอเลสเตอรอล, LDL-C ลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ 3 g β- glucan~60 g oat meal~40 g oat bran ลดคอเลสเตอรอล 5% FDA approved health claim 20 g. Oatmeal or 13g oat bran contain 1 g β- glucan

Soy: High quality protein 25g **ลดคอเลสเตอรอล(9.3%), LDL-C (12.9%), ไตรกลีเซอไรด์ (10.5%): 25 ก./วัน เชื่อว่าเป็นผลของ isoflavones [Health claim: 6.25 ก./วัน มี 12.5 มก. Isoflavone]

Garlic (Allium sativum) Cancer preventive antibiotic antihypertensive chol-lowering Ann Intern Med 2001;135:65-6 J R Coll Physicians Lond 1994;28:39 Ann Intern Med 1993; 119:599

Wine and Grapes French Paradox: French เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมองต่ำกว่า Antioxidant flavanoids: polyphenolic Red W>20-50 white W (skin and fermented juice) Resveratrol phytoalexin ป้องกันการออกซิเดชันของ LDL ที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดแข็ง Non alcohol red wine เพิ่มระดับสารต้านอะนุมูลอิสระในร่างกาย Alcohol เพิ่ม HDL

Fish (protein sources) แหล่ง -3 fatty acid ลดไตรกลีเซอไรด์ ไม่ลดแต่อาจเพิ่ม LDL การบริโภคปลา 35 ก.- 1 serving/สัปดาห์ลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ

Diary product (calcium, protein) Good calcium source: for prevention of osteoporosis Fermented diary product: Probiotics: lactobacillus sp. More absorbable Ca

สรุป Functional Food Psyllium Soluble fiber ลดคอเลสเตอรอล ลด LDL Bioactive component Health benefit Strength of evedence Recommendation Psyllium Soluble fiber ลดคอเลสเตอรอล ลด LDL Very strong 1ก./วัน Soy protein 25ก./วัน Whole oat product β-glucan 3 ก./วัน Fatty fish -3 fatty acid ลดไตรกลีเซอไรด์ โรคหัวใจ Strong to very strong 2meals/wk