การนวดไทยมีความเป็นมาอย่างไรไม่มีหลักฐานที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ในการต่อสู้กับความเจ็บป่วยจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งจนมีหลักการและวิธีการที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว การนวดไทยได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวัฒนธรรมหลักอื่นๆ ที่สำคัญคือ วัฒนธรรมอินเดีย ดังที่พบว่า ชื่อของเส้นประธานทั้งสิบบางเส้น เช่น เส้นอิทา ปิงคลา และสุษุมนา เป็นต้น มีชื่อเช่นเดียวกับ นาฑี ซึ่งเป็นช่องที่ลมปราณและพลังกุณฑลินีไหลผ่านตามทฤษฎีโยคะศาสตร์ อีกทั้งท่าฤาษีดัดตนบางท่าก็มีส่วนคล้ายคลึงกับอาสนะของโยคะเป็นอย่างมาก
ลูกกลิ้งสายนวดตัว ไม้นวดตัว รางไม้ไผ่นวดเท้า หมอกะลา นมสาว หรือหมอนมไม้
นวดแนวเส้นที่มีการชา และเน้นจุดที่ชา เช่น ชาแขน นวดแขน 4 แนว แล้วเน้นจุดเฉพาะ 1. นวดชาทั่วๆไป 2. เน้นแนวที่มีผลต่ออาการชา 3. เน้นเฉพาะบางจุดที่มีผล 4. นวดบริหารข้อต่อ เพื่อให้การไหลเวียนดีขึ้น
ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวบ่า 2 ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดแนวบ่า 1 ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุด แนวข้างสะบัก โดยกดลงไปแล้วผ่อนขึ้นเล็กน้อย พร้อมกับดันไปทางแนวกระดูกสันหลัง ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดบริเวณโค้งระหว่างคอกับบ่า แล้วให้ผู้ถูกนวดหันหน้าไปทางซ้ายและขวาช้าๆ ทำซ้ำ 3 ครั้ง ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดระดับเดียวกับปลายกระดูกสะบัก 10 วินาที ประมาณ 3 ครั้ง
ใช้ฝ่ามือซ้อนกันกดแนวต้นขาด้านหน้า ใช้นิ้วหัวแม่มือซ้อนกัน กดแนวขาด้านหลัง1 เริ่มจากเอ็นร้อยหวายขึ้นไปถึงใต้แก้มก้น ใช้นิ้วหัวแม่มือซ้อนกัน กดแนวหลัง 1 ใช้ปลายนิ้วมือซ้อนกัน กดแนวเชิงกรานข้างละ 3 จุด กดเน้นเข้าหากระดูกเชิงกราน จุดละประมาณ 10 วินาที และนวด ประมาณ 3 รอบ ( นวดทีละข้าง) ใช้นิ้วหัวแม่มือกดจุดเหนือหัวเหน่า โดยกดนิ่ง 10 วินาที
1.นายณรงศักดิ์ นิยมญาติ เลขที่ 1 2.นายสุธี สมบูรณ์ เลขที่ 3 3.นายกฤษณะ จินดา เลขที่ 6 4.นายบุรินทร์ บุญญาวิเศษ เลขที่ 9 5.นายพิทักษ์พงษ์ แสงอยู่ เลขที่ 10 6.นายมารุต เมฆฉาย เลขที่ 11 7.นางสาวปาริชาติ พุทธเจริญ เลขที่ 15 8.นางสาวรสริน อิ่มพราหมณ์ เลขที่ 18 9.นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
หัวหน้ากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา อ.วิเชียร กิมพิทักษ์ หัวหน้ากลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
http://www.samunpri.com/modules.php?name=Nuad