การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
คณิตศาสตร์ กับ การเชิญแขกมางาน
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สถิติ.
การประมาณค่าทางสถิติ
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
(Sensitivity Analysis)
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม EViews เบื้องต้น
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
2-test.
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
Menu Analyze > Correlate
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การทดสอบสมมติฐาน
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
แบบฝึกหัด ในการสุ่มตัวอย่างนักศึกษา ปวส. ที่มีความวิตกกังวลในการเรียน จำนวน25 คนเป็นชาย 15 คน หญิง 10 คน ผลการสำรวจปรากฏดังนี้ อยากทราบว่านักเรียนชายละนักเรียนหญิงที่มีความวิตกกังวลในการเรียนต่างกันหรือไม่
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปร MANOVA
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
หลักการแก้ปัญหา

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ตัวอย่าง การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติ
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
ระดับของการศึกษาตัวแปร
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 2 ประชากร
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การตรวจสอบข้อกำหนดของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบไคกำลังสอง (Chi-square) การนำเสนอต่อไปนี้ ภาพจะวางซ้อนกัน โดยชุดหลังจะทับชุดก่อน ดังนั้น ถ้าต้องการย้อนกลับไปดูชุดก่อน ให้กดปุ่ม PageUp วัฒนา สุนทรธัย ตัวอย่าง 1 กลุ่ม ใช้ทดสอบภาวะสารูปดี (goodness-of-fit test) หรือ การทดสอบภาวะสารูปสนิทดี (คือ ทับกันสนิท) หรือ การทดสอบความเป็นเอกพันธ์ (test of homogeneity) หรือ การทดสอบสัดส่วนของประชากร ตัวอย่างมากกว่า 1 กลุ่ม ใช้ทดสอบความเป็นอิสระต่อกัน (test of independence) ก่อนการทดสอบ ควรจะต้องทราบข้อจำกัดของการใช้ไคกำลังสองก่อน ดังจอภาพต่อไปนี้

ข้อจำกัดของการทดสอบไคกำลังสอง กรณี 2x2 ถ้าความถี่คาดหมายค่าใดค่าหนึ่งน้อยกว่า 5 แล้ว ไม่ควรทดสอบด้วยสถิติไคกำลังสอง ควรใช้ ความน่าจะเป็นแม่นตรงฟิเชอร์ (Fisher exact probability) กรณีใหญ่กว่า 2x2 ถ้าความถี่คาดหมายค่าใดค่าหนึ่งน้อยกว่า 1 หรือความถี่คาดหมายที่มีค่าน้อยกว่า 5 เกินร้อยละ 20 (หรือเกินหนึ่งในห้าของจำนวนช่องทั้งหมด) แล้วไม่ควรทดสอบด้วยสถิติไคกำลังสอง อย่างไรก็ตาม แนวทางการแก้ในกรณีที่ค่าคาดหมายมีค่าต่ำดังกล่าว อาจทำได้โดยการรวมประเภทหรือกลุ่มที่อยู่ใกล้กันเข้าด้วยกัน เพื่อให้ความถี่คาดหมายมีค่ามากขึ้น แต่ในการสรุปผลควรทำด้วยความระมัดระวัง เพราะเมื่อกลุ่มรวมกันแล้วความหมายเดิมอาจเปลี่ยนไป

หลักการสรุปผลการทดสอบ กรณี 1 กลุ่ม ถ้าค่าพี (p หรือ Sig.) ไม่เกินระดับนัยสำคัญ (alpha) ที่กำหนดแล้ว ให้สรุปว่า “ความถี่คาดหมายกับความถี่สังเกต แตกต่างกัน” หรือ “สัดส่วนที่นำมาทดสอบ ไม่เป็นไปตามค่าที่ระบุไว้” ไม่เช่นนั้นให้สรุปว่า “ความถี่คาดหมายกับความถี่สังเกต ไม่แตกต่างกัน” หรือ “สัดส่วนที่นำมาทดสอบ เป็นไปตามค่าที่ระบุไว้” กรณี 2 กลุ่มหรือตัวแปร 2 ตัว ถ้าค่าพี (p หรือ Sig.) ไม่เกินระดับนัยสำคัญ (alpha) ที่กำหนดแล้ว ให้สรุปว่า “ความถี่คาดหมายกับความถี่สังเกต แตกต่างกัน” หรือ “ตัวแปรสองตัว มีความสัมพันธ์กัน” หรือ “ตัวแปรสองตัว ไม่เป็นอิสระจากกัน” ไม่เช่นนั้นให้สรุปว่า “ความถี่คาดหมายกับความถี่สังเกต ไม่แตกต่างกัน” หรือ “ตัวแปรสองตัว ไม่มีความสัมพันธ์กัน” หรือ “ตัวแปรสองตัว เป็นอิสระจากกัน”

ตัวอย่าง 1 กลุ่ม จำนวนความถี่คาดหมาย ที่มีค่าน้อยกว่า 5 คือ 0% (ถ้าเกิน 20% แล้ว ไม่ควรสรุปผลการทดสอบจากไคกำลังสอง) ตัวอย่าง 1 กลุ่ม ตัวอย่าง 7.2 จากการสุ่มสอบถามความคิดเห็นของคนกลุ่มหนึ่งต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง พบว่าเลือกเป็นพรรค 335 คน เลือกเป็นบุคคล 92 คน และเลือกแบบผสมกัน 101 คน จงทดสอบที่ระดับ 0.05 ว่าคนกลุ่มนั้นไปตั้งเป็นพรรค บุคคล และผสมกันเป็นสัดส่วน 2:1:1 หรือไม่ สมมุติฐานทางวิจัย ประชากรของกลุ่มที่ไปสำรวจ เลือกตั้งเป็นพรรค บุคคล และผสมกันไม่เป็นสัดส่วน 2:1:1 ความถี่คาดหมายต่ำสุดเกิน 1 (ถ้าความถี่คาดหมายต่ำกว่า 1 แล้วไม่ควรสรุปผลการทดสอบจากไคกำลังสอง) คำสั่ง NPAR TEST /CHISQUARE=election /EXPECTED=2 1 1 /MISSING ANALYSIS.จะได้ผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ การตัดสินใจ จากผลลัพธ์ในตาราง Test Statistics พบว่า Asymp. Sig. เท่ากับ 0.000 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 0.05 แปลว่าประชากรของคนกลุ่มนั้นเลือกตั้งเป็นพรรค บุคคล และผสมกัน ไม่เป็นสัดส่วน 2:1:1

การทดสอบความเป็นอิสระต่อกัน วิธีการเลือกตั้ง เพศ พรรค บุคคล ผสม รวม ชาย 107 26 33 166 หญิง 217 62 65 344 รวม 324 88 98 510 จากข้อมูลนี้ จงทดสอบที่ระดับ 0.05 ว่าเพศกับวิธีการเลือกตั้งมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ ค่าไคกำลังสองเท่ากับ 0.451 ระดับขั้นความเสรีเท่ากับ 2 และค่าพีเท่ากับ 0.798 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.05 แปลว่าเพศกับวิธีการเลือกตั้งไม่มีความสัมพันธ์กัน หมายความว่า สัดส่วนของเพศชายและหญิงในการเลือกตั้งแบบพรรค บุคคล และแบบผสม ไม่แตกต่างกัน คำสั่ง CROSSTABS /TABLES=sex BY election /FORMAT= AVALUE TABLES /STATISTIC=CHISQ /CELLS=COUNT EXPECTED.จะได้ผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ หมายเหตุ จำนวนเซลล์ที่มีค่าคาดหมายน้อยกว่า 5 มีจำนวน 0 เซลล์ โดยมีค่าคาดหมายต่ำสุดคือ 28.64 แปลว่าไม่ขัดต่อเงื่อนไขของการทดสอบไคกำลังสอง สมมุติฐาน เพศกับวิธีการเลือกตั้ง มีความสัมพันธ์กัน (หรือสัดส่วนของวิธีการเลือกตั้งในแต่ละเพศแตกต่างกัน)