บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลลิ้งค์ลิสต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting).
Advertisements

โครงสร้างข้อมูลสแตก มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List)รูปแบบหนึ่ง และมีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มและลบรายการเพียงด้านเดียว ซึ่งเป็นด้านบนสุดของสแตก(Top.
Lists Data Structure LAUKHWAN NGAMPRASIT LAUKHWAN NGAMPRASIT.
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
โครงสร้างของโหนด Successor = Node ที่อยู่ถัดไปจาก Node ที่ใช้งานอยู่
[][Data][] [][1][]<->[][5][]<->[][3][]<->[][8][null]
โครงสร้างข้อมูลสแตก มีลักษณะเป็นรายการในแนวเชิงเส้น(Linear List)รูปแบบหนึ่ง และมีข้อกำหนดให้ชุดปฏิบัติการสามารถเพิ่มและลบรายการเพียงด้านเดียว ซึ่งเป็นด้านบนสุดของสแตก(Top.
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลลิ้งค์ลิสต์
บทที่ 5 โครงสร้างข้อมูลคิว
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
Register Allocation and Graph Coloring
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Functional programming part II
การจัดเรียงข้อมูล Sorting.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
Matrix Structure In Graph Theory.
Arrays.
Surachai Wachirahatthapong
ลำดับการทำงานหน่วยความจำ
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
Searching.
ลิ้งค์ลิสต์วงกลม วิธีการที่ทำให้สามารถวิ่งจาก โหนดหนึ่งจะไม่สามารถชี้กลับไป ยังโหนดอื่น ๆ ได้ในลิ้งค์ลิสต์ โดยให้ตัวชี้ของโหนดสุดท้ายซึ่ง เดิมเป็นค่า NULL.
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
Data Structure and Algorithm
บทที่ 8 การจัดเรียงแฟ้มลำดับเชิงดรรชนี
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
Linked List (ลิงค์ลิสต์)
Week 12 Engineering Problem 2
บทที่ 5 Link List Link List.
Week 12 Engineering Problem 2
Linked List List is group of nodes that consists of data and link.
ความหมาย การประกาศ และการใช้
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ลิงค์ลิสต์ (Linked List)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
รายการโยง (linked lists) หอยทอด 30 ข้าวผัด 30 ไก่ย่าง 50 เนื้อทอด 30
โครงสร้างข้อมูล Queues
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
จัดทำโดย ด. ญ. เจนจิรา หอมรำพึง ด. ญ. ณัฐชยา บุญเชื่อม ด. ญ. นัทตะวัน โปธิ นำเสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติด รัมย์
Data Structure and Algorithms
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
ต้นไม้ Tree [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Int isEmpty ( node **ptr_head) ; parameter ชื่อของตัวแปรลิสต์ที่จะตรวจสอบว่า ว่างหรือไม่ return value มีได้ 2 สถานะ คือ ว่าง (1) หรือ ไม่ ว่าง (0) body.
ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ 231/4 ซอยวัดสังข์กระจาย เขตบางกอกใหญ่ กทม Tel , การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML ( ) 1 บท ที่ การเชื่อมโยงหน้า.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ.
รายการ (Lis t) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Website : ict.up.ac.th/yeunyong.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM Linked List.
รายการ(List) [2] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
int isEmpty ( node **ptr_head) ;
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลลิ้งค์ลิสต์ การจัดเก็บที่มีรูปแบบเรียงตามลำดับ (Sequential) เปลี่ยนมาใช้รูปแบบไม่เรียงตามลำดับและสมาชิกทุกตัวจะถูกเชื่อม(Link)ต่อเข้าด้วยกันเมื่อมีการลบค่าสมาชิกตัวใดออกหรือแทรกค่าสมาชิกใหม่เข้ามา ก็จะทำให้สมาชิกอื่น ๆ มีการขยับตำแหน่งตามไปด้วย

รูปแบบโครงสร้างข้อมูลลิ้งค์ลิสต์ Info Next Info Next Info Next Info Next L1 L2 ... Ln Null First Node1 Node2 Node3 Node4

อัลกอริทึมการแทรกโหนดใหม่ลงในลิ้งค์ลิสต์

อัลกอริทึมการลบโหนดออกจากลิ้งค์ลิสต์

อัลกอริทึมการวิ่งไปยังแต่ละโหนดในลิ้งค์ลิสต์

ลิ้งค์ลิสต์วงกลม วิธีการที่ทำให้สามารถวิ่งจากโหนดหนึ่งจะไม่สามารถชี้กลับไปยังโหนดอื่น ๆ ได้ในลิ้งค์ลิสต์ โดยให้ตัวชี้ของโหนดสุดท้ายซึ่งเดิมเป็นค่า NULL ก็ให้ชี้กลับไปยังโหนดแรกแทน

ลิ้งค์ลิสต์สองทาง เพื่อให้เกิดความสะดวกและประสิทธิภาพจึงนำลิ้วค์ลิสต์สองทาง (Doubly Linked List) มาใช้แทนลิ้งค์ลิสต์เดียวประกอยด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนเก็บข้อมูล (Info) ใช้เก็บข้อมูลข่างสารที่มีโครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น หรือ เรียบง่าย

ลิ้งค์ลิสต์สองทาง(ต่อ) 2. ส่วนการเชื่อมต่อถัดไป (Next) เป็นตัวชี้หรือพอยเตอร์เก็บคาแอดเดรสใช้อ้างไปยังโหนดถัดไปในหน่วยความจำ 3. ส่วนการเชื่อมต่อก่อนหน้า เป็นตัวชี้หรือพอยน์เตอร์เก็บค่าแอดเดรสใช้อ้างกลับไปยังโหนดก่อนหน้าในหน่วยความจำ

ลิ้งค์ลิสต์สองทาง Null L1 ... Ln Null First Info Next Prior Info Next

อัลกอริทึมการแทรกโหนดใหม่ลงในลิ้งค์ลิสต์สองทาง

อัลกอริทึมการลบโหนดออกจากลิ้งค์ลิสต์สองทาง

ลิ้งค์ลิสต์หลายทาง มีอยู่หลายกรณีที่นำลิ้งค์ลิสต์มาใช้งานตามความเหมาะสมซึ่งแต่ละโหนดจะถูกกำหนดให้ส่วนการเชื่อมต่อมีมากกว่าสองทาง แต่ละโหนดในลิ้งค์ลิสต์จะมีตัวชี้สามทางโดยมีพื้นฐานเป็นลิ้งค์ลิสต์สองทางซึ่งมี

ลิ้งค์ลิสต์หลายทาง(ต่อ) ส่วนเก็บข้อมูลคือ NameLength เก็บค่าความยาวของสตริง กับส่วนเชื่อมต่อที่เป็นตัวชี้ Right และ Left และส่วนเชื่อมต่อที่สามคือ ตัวชี้ NamePtrใช้ชี้ไปยังข้อมูลจริงอีกทีซึ่งมีโครงสร้างข้อมูลสตริงเก็บไว้ในหน่วยความจำที่ขอมาแทนการเก็บไว้ภายในโหนด