พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน โดย AV คือ ‘อัตราขยายแรงดัน’ rin คือ ‘ความต้านทานขาเข้า’ rout คือ ‘ความต้านทานขาออก’ สัญลักษณ์และแบบจำลองอย่างง่ายของวงจรขยายแรงดัน (แบบจำลองนี้ยังไม่สมบูรณ์เพราะได้ละเลยพารามิเตอร์การป้อนกลับไป)
การวิเคราะห์หา Av และ rin การวิเคราะห์หา rout ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าวงจรขยายแรงดันที่ดีควรมี rin สูงและ rout ต่ำ เพื่อให้ ‘ผลของภาระ’ (loading effect) ที่ฝั่งอินพุตและฝั่งเอาต์พุตไม่ส่งผลต่ออัตราขยายรวม ของวงจรมากนัก
4.10 วงจรขยาย BJT พื้นฐาน คอลเลกเตอร์ร่วม (Common Collector) เบสร่วม (Common Base) อีมิตเตอร์ร่วม (Common Emitter)
วงจรขยายอีมิตเตอร์ร่วม a b c d
(ต่อ RL ไม่มีผลต่อ rin) จากวงจรขยายอีมิตเตอร์รูป c อัตราขยายแรงดัน ความต้านทานขาเข้า (ต่อ RL ไม่มีผลต่อ rin) ในกรณีที่ ro >> RC Av = -gmRC
ความต้านทานขาออก
วงจรกันชนแรงดัน (voltage buffer) ที่มี AV ใกล้เคียงหนึ่ง มี rin ที่สูงมาก และ rout ต่ำมาก
วงจรขยายคอลเลกเตอร์ร่วม a b c d
จากวงจรขยายคอลเลกเตอร์รูป c ความต้านทานขาเข้า เมื่อ ib = ix จะได้ เมื่อแทนค่า
อัตราขยายแรงดัน เมื่อแทนค่า
ความต้านทานขาออก สังเกตได้ว่า หรือ เมื่อแทนค่า
วงจรขยายแบบเบสร่วม วงจรสมมูลสำหรับสัญญาณขนาดเล็ก
ความต้านทานขาเข้า ละเลยผลของ ro ที่มีต่อการทำงานของวงจร เมื่อแทน vx = veb เมื่อแทน จะสังเกตได้ว่า veb = - vbe = Note ในบางกรณีเราไม่สามารถละเลย ro ได้ เช่น ถ้า ro = RC แล้ว rin ~ 2(ro+RC//RL)/gmro ~ 2/gm
อัตราขยายแรงดัน เมื่อแทน vx = veb ความต้านทานขาออก