2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง บทที่ 2 การเคลื่อนที่ 2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงตัว วัตถุตกอย่างอิสระ
การกระจัด (displacement) x2 x1 x O t1 t2 การกระจัด เฉพาะในกรณี 1 มิติ อาจเขียนเป็น เพราะ เครื่องหมาย บวกหรือลบจาก จะเป็นตัวบ่งบอกทิศทาง
การกระจัด(displacement) และระยะทาง(distance) เส้นทางที่ 3 B เส้นทางที่ 1 A เส้นทางที่ 2 ระยะทาง เส้นทางที่ 1 เส้นทางที่ 2 เส้นทางที่ 3 การกระจัด เส้นทางที่ 3
อัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด อัตราการเปลี่ยนแปลงระยะทาง ความเร็ว (Velocity) ความเร็ว (Velocity) อัตราเร็ว (Speed) อัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด อัตราการเปลี่ยนแปลงระยะทาง ความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
ความเร็วเฉลี่ย การกระจัด Q x2 x1 P เวลา t1 t2 ความชันของเส้นตรง PQ
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง การกระจัด Q x5 x4 x3 x2 x1 P เวลา Slope ของเส้นสัมผัส ของกราฟการกระจัด ณ เวลาที่พิจาณา
ตัวอย่าง ตำแหน่งของอนุภาคเคลื่อนที่ตามแกน ในหน่วยเซนติเมตร มีความสัมพันธ์ตามสมการ x(t) = 9.75 + 1.50 t3 โดย t เป็นวินาที ในช่วงเวลา t = 2 ถึง t = 3 จงคำนวณ (a) ความเร็วเฉลี่ย (b) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง t = 2 วินาที (c) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง t = 3 วินาที (d) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง t = 2.5 วินาที (e) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ตรงจุดกึ่งกลางของทางเดิน ระหว่างเวลา t = 2 วินาที และ t = 3 วินาที
ความเร่ง (Acceleration) ความเร่งเฉลี่ย คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว * ความเร่งเฉลี่ยหาได้จาก ความชันของกราฟ v-t ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง ความเร่ง (accerelation) ความหน่วง (deceleration)
การเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ ความเร็ว ความเร่งเฉลี่ย คือ ความชันของกราฟ v-t V V0 t เวลา
พิจารณากรณี 1 มิติ
แทนค่าลงใน
วัตถุตกอย่างอิสระ เป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ โดยวัตถุจะเคลื่อนที่ลงสู่พื้นโลกด้วยความเร่ง 9.8 เมตร/วินาที2