Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com Array ใน C# Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Lab 8 Suphot Sawattiwong
Advertisements

Suphot Sawattiwong Lab I-II Suphot Sawattiwong
C# เบื้องต้น ก่อนการเขียนเกมด้วย XNA
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Arrays.
การจัดการความผิดพลาด
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Type Judgments และ Type Rules. คำศัพท์ที่จะใช้ Type judgment: การตัดสินความถูกต้องของ type สำหรับ expression หรือ statement ใน โปรแกรม – เป็นบทสรุป (conclusion)
Data Type part.III.
Stack.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
Structure.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ครั้งที่ 7 Composition.
Arrays.
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (2).
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
Suphot Sawattiwong Sprite Suphot Sawattiwong
Suphot Sawattiwong Lab IV: Array Suphot Sawattiwong
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
Handling Exceptions & database
ตัวแปรในภาษา JavaScript
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Week 12 Engineering Problem 2
Object-Oriented Programming
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
อาร์เรย์ (Arrays).
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java collection framework
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
… Cache …L1,L2.
Java Network Programming 1
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การจัดการกับความผิดปกติ
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com Array ใน C# Suphot Sawattiwong tohpus@gmail.com

Array คือ ? สมมติเราต้องการเก็บรหัสนักศึกษาของนักศึกษา 5 คน ในตัวแปร โดยปกติ เราสามารถทำได้โดยกำหนดตัวแปรได้ เช่น แต่ถ้าต้องการเก็บเป็น 100 เป็น 1000 คน จะทำอย่างไร string studentID1, studentID2, studentID3, studentID4, studentID5;

Array คือ ? Array เป็นตัวแปรที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหลายๆ ตัวที่เป็นตัวแปรชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน ในหน่วยความจำภายใต้ตัวแปร ตัวเดียวกัน เราเรียกใช้ตัวแปรแต่ละตัวในarray ได้ด้วยการระบุตำแหน่ง (index) เราเรียกตัวแปรแต่ละตัวใน array ว่า สมาชิก (element) ของ array เราสามารถกำหนดตัวแปรเป็น array ได้ดังนี้ <ชนิดตัวแปร>[] <ชื่อตัวแปร>; string[] student;

การกำหนดขนาดของ array ในตัวแปรarray จำเป็นต้องกำหนดขนาดเพื่อให้รู้ขนาดที่แน่นอนของ array นั้นๆ ดังต่อไปนี้ การระบุ new นั้น เนื่องจากตัวแปรประเภท array เป็นตัวแปรแบบ reference type ซึ่งจำเป็นต้องมีการจองหน่วยความจำก่อน student = new string[5];

การใส่ค่าในแต่ละสมาชิกของ array student[0] = "Suphot"; student[1] = "Pisal"; student[2] = "Sisada"; student[3] = "Visit"; student[4] = "Phiphat"; [0] [1] [2] [3] [4] student Suphot Pisal Sisada Visit Phiphat

ตำแหน่งของสมาชิกใน array array ใน C# จะเริ่มตั้งแต่ 0 เป็นต้นไป ดังนั้นตำแหน่งสุดท้ายของตัวแปรใน array ก็คือ ตำแหน่ง n-1 โดย n เป็นจำนวนสมาชิก หากตัวแปร student มีสมาชิกทั้งหมด 100 ตัว ตำแหน่งสุดท้ายของ array คือ student[99]

การเรียกใช้ข้อมูลในสมาชิกของarray โดยปกติเราสามารถใช้ข้อมูลใน array ได้โดยการระบุตำแหน่งของ array Console.WriteLine(student[0]);

ตัวอย่าง using System; namespace StudentArrayExample { class Program static void Main(string[] args) string[] student; student = new string[5]; student[0] = "Suphot"; student[1] = "Pisal"; student[2] = "Sisada"; student[3] = "Visit"; student[4] = "Phiphat"; Console.WriteLine("student[0]=" + student[0]); Console.WriteLine("student[1]=" + student[1]); Console.WriteLine("student[2]=" + student[2]); Console.WriteLine("student[3]=" + student[3]); Console.WriteLine("student[4]=" + student[4]); Console.ReadLine(); }

ตัวอย่าง การกำหนดแบบเป็น set "Pisal", "Sisada", "Visit", "Phiphat" }; using System; namespace StudentArrayExample { class Program static void Main(string[] args) string[] student = { "Suphot", "Pisal", "Sisada", "Visit", "Phiphat" }; Console.WriteLine("student[0]=" + student[0]); Console.WriteLine("student[1]=" + student[1]); Console.WriteLine("student[2]=" + student[2]); Console.WriteLine("student[3]=" + student[3]); Console.WriteLine("student[4]=" + student[4]); Console.ReadLine(); } การกำหนดแบบเป็น set

การเคลื่อนที่ตำแหน่งของ array ด้วยตัวแปร หากมีการรับค่าหรือแสดงผล สัก 100 ค่า เราอาจจะต้องพิมพ์ถึง 100 บรรทัด ซึ่งมันเกินความจำเป็น แต่ array จริงๆ สามารถชี้ตำแหน่งผ่านตัวแปรได้ดังนี้ for(int i=0; i<5;i++) Console.WriteLine("student["+i+"]="+student[i]);

Exercise จงเขียนโปรแกรมรับค่าข้อมูลผ่านทาง keyboard ดังต่อไปนี้ ของนักศึกษา 10 คน และแสดงผลบนหน้าจอ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ID No. Name Surname ----------------------------------------------- 5405108098 Suphot S. 5405108099 PhiPhat L. 5405108100 Pisal S. 5405108101 Visit T. 5405108102 Athisaya J. 5405108103 Paphitchaya A. 5405108104 Phongchat A. 5405108105 Ponlavit L. 5405108106 Nattawat A. 5405108107 Eakwirun B.