หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ 25/03/55.
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การสั่งการออกกำลังกาย (EXERCISE PRESCRIPTION)
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
(Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
กาบรรยายแบบปฏิสัมพันธ์บน web casting ครั้งที่ 3 เรื่อง การดูแลสุขภาพผุ้สูงอายุ วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน 2553 เวลา น ณ ห้องสตูดิโอ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
การออกกำลัง ป้องกันและลดพุง
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การออกกำลังกายในคนอ้วน
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
AEROBIC DANCE แอโรบิกดานซ์ ? ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม.
การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย นนอ. ๑. ตรวจสอบ นนอ. ไม่ผ่านสถานีใด ๒
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การเป็นลมและช็อก.
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
การฝึกด้วยน้ำหนักสำหรับนักกีฬาระดับเยาวชน
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
วิธีการลดน้ำหนัก ด.ช.พีรณัฐ บุญชื่น ม.3/3 เลขที่ 20 เสนอ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก ผศ.สุกัญญา พานิชเจริญนาม ภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

กิจกรรมเสริมสร้าง ความแข็งแรง-อดทนของกล้ามเนื้อ กิจกรรมการออกกำลังกาย กิจกรรม แอโรบิก กิจกรรมเสริมสร้าง ความแข็งแรง-อดทนของกล้ามเนื้อ กิจกรรม การยืดเหยียด

กิจกรรมแอโรบิก (Aerobics Exercise) เป็นการฝึก หัวใจและระบบหายใจเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียน ของโลหิตและระบบการหายใจ กิจกรรมแอโรบิก (Aerobics Exercise) วิธีฝึก ใช้กิจกรรมแอโรบิก กิจกรรมเหล่านี้จะช่วยให้มี การแลกเปลี่ยน ปริมาณออกซิเจนมากขึ้น ทำให้ระบบการหายใจคล่องตัว ระบบการหมุนเวียนโลหิตมีมาก กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรง

การเดิน - วิ่ง

การเต้น แอโรบิก แบบต่างๆ

กิจกรรมออกกำลังกายในน้ำ

จักรยาน

วิธีการฝึก ผู้ฝึกจะต้องรู้และกำหนดความเหนื่อย หรือความหนักของงาน(Intensity) สูตรการคำนวณหาชีพจรเป้าหมายในการฝึกหัวใจให้แข็งแรง ชีพจรเป้าหมาย = (220 - อายุ ) x จำนวนเปอร์เซ็นต์ของ ความเหนื่อยที่ต้องการ

การฝึกหัวใจและปอดให้แข็งแรง เพื่อลดภาวะความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ควรฝึกระดับความหนัก 75% ของแต่ละบุคคลสัปดาห์ละ 3วัน วันละ 15-20นาที ต่อเนื่องกัน หรือฝึกแบบสะสม เช่น ฝึกในตอนเช้า 10นาที และตอนเย็นอีก 10นาที

และใช้เวลาประมาณ 30-45นาที การฝึกหัวใจและปอดเพื่อลดไขมันใต้ผิวหนังและหลอดเลือดสำหรับบุคคลที่มีไขมันสูงหรือมีน้ำหนักตัวมากหรืออ้วนมาก ควรฝึกอย่างน้อย สัปดาห์ละ3-5วัน โดยให้ระดับ ความหนัก65% และใช้เวลาประมาณ 30-45นาที ต่อเนื่องกัน

ระยะเวลาการออกกำลังกายแบบแอโรบิกกับการใช้พลังงาน ระยะเริ่ม - 20 นาทีแรก น้ำตาล 60% ไขมัน 40% หลัง 20 นาที น้ำตาล 50% ไขมัน 50% 30 นาทีขึ้นไป น้ำตาล 40% ไขมัน 60%

ข้อแนะนำในการออกกำลังกาย เพื่อฝึกความแข็งแรงของปอดและหัวใจ ควรออกกำลังกายในสภาวะร่างกายปกติดี (นอนหลับเพียงพอ ไม่ป่วย ไม่เป็นหวัด) ควรดื่มน้ำผลไม้ที่ไม่ผสมน้ำตาลประมาณ 1 แก้วก่อนการฝึก เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดอาการอ่อนเพลียเร็วเกินไป ไม่ควรออกกำลังกายในที่ร้อนจัด เพราะจะทำให้ร่างกายเสียเหงื่อมาก และได้รับความร้อนสูงเกินไป ทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียนหน้ามืดหรือเป็นลมได้ เสื้อผ้าที่สวมใส่ควรระบายอากาศได้ดี รองเท้าต้องเหมาะสม กล่าวคือ มีชั้นรองรับเพื่อกันการกระแทกได้ ต้องรู้ขีดจำกัดของตัวเอง เริ่มฝึกจากความหนักน้อยๆ และค่อยๆเพิ่มความหนัก ต้องมีการอบอุ่นร่างกายก่อนการฝึก และจะต้องผ่อนคลายหรือยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลังการฝึก ถ้ามีอาการแน่นหรืออาการเจ็บหน้าอกขณะฝึก ให้ค่อยๆลดความหนักของงานลง ไม่ควรหยุดในทันที

กิจกรรมเพื่อ สร้างความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength Exercise)

กล้ามเนื้อมัดใหญ่ของร่างกาย แบ่งเป็น 3 ส่วน กล้ามเนื้อส่วนบน กล้ามเนื้อส่วนกลาง กล้ามเนื้อส่วนล่าง ได้แก่ ได้แก่ ได้แก่ -แขน -หัวไหล่ -หน้าอก -สะบัก -หน้าท้อง -หลัง -ลำตัวด้านข้าง -สะโพก -ขาด้านหน้า -ขาด้านหลัง -ขาด้านนอก,ใน -น่อง

แผนภูมิการฝึกกล้ามเนื้อเพื่อความแข็งแรงและอดทน High Reps And Low Resistance A จำนวนครั้งมากใช้น้ำหนัก-เบา Moderate Reps And Resistance B จำนวนครั้งและน้ำหนัก-ปานกลาง Low Reps And High Resistance C จำนวนครั้งน้อยใช้น้ำหนัก-หนัก Endurance เพื่อความอดทน Strength เพื่อความแข็งแรง

กิจกรรมการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching Exercise) เป็นการฝึกให้ข้อต่อเคลื่อนไหวได้อย่างธรรมชาติช่วยลดกรดแลคติกช่วยให้เลือดหมุนเวียนได้ดีขึ้นทำให้ความเครียดของกล้ามเนื้อลดลง

การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ

หลักการต่างๆในการปฏิบัติ Stretching ควรอบอุ่นร่างกาย เช่น เดินหรือวิ่งเบาๆ เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่กล้ามเนื้อ ก่อนทำการยืดเหยียด เลือกกลุ่มข้อต่อกล้ามเนื้อสำหรับกีฬาแต่ละชนิด แยกกลุ่มข้อต่อและกล้ามเนื้อที่ต้องการยืดเหยียด ปฏิบัติอย่างช้าๆ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่ทำงานตรงข้ามกันเสมอ ยืดเหยียดให้มีความพอดี อย่ากด อย่ากระชากหรือกระแทก และอย่าให้เกิดการบาดเจ็บ เมื่อเหยียดจนสุดมุมแล้ว ให้นิ่งไว้ประมาณ 10-30 วินาที พร้อมกับหายใจออก ทำได้ทั้งก่อนและหลังออกกำลังกาย หรือแม้ในกิจวัตรประจำวัน ยืดเหยียดอย่างน้อย 2-3 ครั้ง ในแต่ละข้อต่อ หรือแต่ละกล้ามเนื้อ ไม่แข่งขันกับบุคคลอื่น

หลักในการฝึก (FFITT) F = FUN (สนุกสนาน เพลิดเพลิน) F = FREQUENCY (ความบ่อย) MIN = 3 ครั้ง / สัปดาห์ MAX = ทุกวัน ควรมีวันพัก 1 วัน I = INTENSITY (ความหนัก–เบา) ขึ้นอยู่กับอายุ T = TIME (เวลา) เวลาที่ควรใช้ประมาณ 10 – 45 นาที T = TYPE (ชนิด) เช่น การเดิน, การวิ่ง, ขี่จักรยาน, ว่ายน้ำ, เต้นรำ ฯลฯ

8 ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต ให้มีความเป็นอยู่และมีประสิทธิภาพที่ดี ใช้สูตร 50-20-30 ของอาหารหลัก ใช้สูตร 25-50-25 ออกกำลังกายด้วยวิธีแอโรบิก ต้องรู้จักการกลัวต่อโรคอ้วน ให้หลีกเลี่ยงการปฏิบัติโดยวิธีที่ผิด ต้องรู้วิธีคำนวณหาน้ำหนักในอุดมคติ ต้องรู้วิธีคำนวณหาแคลอรี่อาหาร ต้องปฏิบัติตามกติกา P.E.P. 8 ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต ให้มีความเป็นอยู่และมีประสิทธิภาพที่ดี

หลักการดำเนินชีวิตให้มีความเป็นอยู่ที่ดี Aerobic Exercise (การออกกำลังกายแอโรบิก) โดยยึดหลัก “L.S.D.” = Long Slow Distance Positive Eating Plan (P.E.P.) การรับประทานอาหารที่ถูกต้อง Emotion Equilibrium (การรักษาอารมณ์ให้สมดุลย์) โดย Kenneth H. Cooper, M.D. หลักการดำเนินชีวิตให้มีความเป็นอยู่ที่ดี

Thank you