ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
Advertisements

NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม Radiation therapy for breast cancer
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
Fracture tibia and fibula
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
Myasthenia Gravis.
Tuberculosis วัณโรค.
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี การพยาบาล ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี สุวิญญา ธนสีลังกูล

ภาวะฉุกเฉินทางรังสี ที่พบบ่อยได้แก่ 1. Superior Vena Cava Obstruction 2. Spinal Cord Compression 3. Nearly Fracture of Weight Bearing bone 4. Brain Metastasis (Increased Intracranail Pressure) 5. Bleeding Ulcer Tumors 6. Upper Airway Obstruction

Acute SVC Obstruction syndrome หมายถึง กลุ่มอาการซึ่งเกิดจากการกดเส้นเลือดดำใหญ่ Superior Vena Cava ซึ่งอยู่บริเวณ Midiastinum ทำให้เลือดจากศีรษะ ร่างกายส่วนบน และแขนทั้ง 2 ข้าง ไหลกลับเข้าสู่หัวใจไม่ได้ จะเกิดอาการซึ่งเป็นผลจากการมีเลือดคั่ง ในส่วนเหนือต่อเส้นเลือดดำ Superior Vena Cava นั่นเอง

Acute SVC Obstruction syndrome อาการและอาการแสดง อาการ % อาการแสดง Dyspnea Facial swelling Cough Arm swelling Chest pain dysphagia 63 50 24 18 15 9 Venous distention of neck Venous distention of chest wall Facial edema Cyanosis Plethora of face Edema of arms 66 54 46 20 19 14

Acute SVC Obstruction syndrome การพยาบาล 1. Early detection โดยสังเกต อาการแสดงเริ่มแรกคือ เปลือกตาบวมตอนเช้า รู้สึกแน่นบริเวณคอ หายใจเร็ว 2. ให้นอนศีรษะสูง หรือฟุบบน over bed 3. ให้ oxygen 4. จำกัดกิจกรรมบนเตียง

Acute Spinal Cord Compression หมายถึง การที่ก้อนมะเร็งกระจายไปที่ epidural area ทำให้มีการกดของประสาทไขสันหลัง และ ส้นประสาท และเบียดบังทำให้ spine เกิด necrosis และเสียหน้าที่ไปในที่สุด

Acute Spinal Cord Compression มะเร็งที่กระจายไปไขสันหลังที่พบบ่อยได้แก่ - CA lung - CA breast - CA prostate - Lymphoma

Acute Spinal Cord Compression อาการ ประมาณร้อยละ 80 มาด้วยอาการปวดหลังร้าวไปที่ขา หรือมีอาการชาร่วมด้วย อาการอ่อนแรงพบหลังจากมีอาการปวด ประมาณ 2 สัปดาห์

Acute Spinal Cord Compression การพยาบาล 1. Early detection โดยเฉพาะ ในมะเร็งที่เกิดบ่อย 2. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ควรทำด้วย ความระมัดระวัง นุ่มนวล และถูกวิธี 3. ในกรณีที่ผู้ป่วยยังสามารถเคลื่อนไหว ตัวเองได้ แนะนำให้พักบนเตียงและ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ

วัตถุประสงค์ในการรักษาที่สำคัญ Nearly Fracture of Weight Bearing การกระจายของมะเร็งไปที่กระดูก วัตถุประสงค์ในการรักษาที่สำคัญ - ลดอาการปวดและป้องกันกระดูกหัก

อาการ Nearly Fracture of Weight Bearing อาการปวด อาการทางระบบประสาทร่วมด้วย$$

Nearly Fracture of Weight Bearing ตำแหน่งที่พบกระดูแตกหักได้บ่อย - femoral neck - แท่งกระดูกขา

Increased Intracranail Pressure หมายถึง ภาวะความดันสมองสูง เกิดจากก้อนเนื้องอก ในสมองมีขนาดโตขึ้น ความดันในสมองจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกลไกควบคุมตัวเองและควบคุมเลือดที่มาเลี้ยงสมองเสียไป สมองจะขาดเลือดและเกิด herniation อาจเสียชีวิตได้

Increased Intracranail Pressure brain metastasis มักมาจาก - CA lung - CA breast - CA colon - CA rectum - CA skin ( melanoma )

อาการ Increased Intracranail Pressure - ปวดศีรษะ - คลื่นไส้ อาเจียน - คลื่นไส้ อาเจียน -conciousลดลง - พฤติกรรมเปลี่ยนไป - ชัก

การพยาบาล Increased Intracranail Pressure 1. Early detection โดยเฉพาะในมะเร็งที่เกิดบ่อย 2. Observe n/s 3. นอนหัวเตียงสูงประมาณ 30 องศา

Bleeding Ulcer Tumors เป็นภาวะเลือดออกจากแผลมะเร็ง มักเกิดจากเซลล์มะเร็งเจริญเติบโต และลุกลามหลอดเลือดและเนื้อเยื่อ ในบริเวณใกล้เคียงนั้นจนแตกเป็นแผล

Bleeding Ulcer Tumors การพยาบาล 1. ประเมินการเสียเลือด 2. ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา 3. stop bleeding 4. Dressing แผล ตามความเหมาะสม 5. Record vital signs ทุก 4 – 6 ชั่วโมง 6. เจาะ Hct ทุก 6 ชั่วโมง 7. อธิบายให้ญาติและผู้ป่วยทราบและเข้าใจถึงพยาธิสภาพ 8. ดูแลให้ได้รับยา

Ubper Airway Obstruction เป็นภาวะฉุกเฉินเนื่องจากผู้ป่วยหายใจ ไม่สะดวก อาจมีสาเหตุมาจากโรคมะเร็ง ที่มีก้อนเนื้องอกโตไปเบียดหลอดลม หรืออุดกั้นหลอดลม

Ubper Airway Obstruction มะเร็งที่มักเกิดภาวะนี้บ่อยได้แก่ 1. มะเร็งกล่องเสียง 2. มะเร็งหลอดลม 3. มะเร็งต่อมไทรอยด์ ชนิด anaplastic 4. มะเร็งต่อมน้ำเหลือง

Ubper Airway Obstruction อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจไม่ออก หายใจไม่สะดวก กระสับกระส่าย การพยาบาล 1. ให้ O2 และรีบรายงานแพทย์เพื่อทำ tracheostomy ทันที 2. จัดเตรียมรถ Emergency ไว้ให้พร้อมใช้งาน