ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ อุณหภูมิผสม เกิดสมดุลความร้อน
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 15 ใส่น้ำแข็งมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ลงในน้า 200 กรัม ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส จะได้อุณหภูมิสุดท้ายเท่าใด
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 16 น้ำแข็งมวล 140 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ใส่ลงไปในน้ำร้อน 80 องศาเซลเซียส จงหาปริมาณน้ำร้อนที่ทำให้น้ำแข็งละลายหมดพอดีกำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ เท่ากับ 4.2 kJ/kg.oC และความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง เท่ากับ 300 k J/kg
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 17 น้ำเดือด 200 กรัม ผสมกับน้ำแข็ง 125 กรัม ที่ –50c จงหาอุณหภูมิผสม กำหนดความร้อนแฝง และความร้อนจำเพาะน้ำแข็งเท่ากับ 80 แคลอรี/กรัม และ 0.5 แคลอรี/กรัม. องศาเซลเซียส
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน ( mct )น้ำแข็ง+(mL )น้ำแข็ง + ( mct )น้ำ = ( mct )น้ำ 125x0.5x5+125x80+125x1 x = 200x1(100-x) 312.5+10,000+125x = 20,000-200x 325x = 9,687.5 x = 29.8
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 18 น้ำร้อน 80 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ต้องการทำให้น้ำเป็นน้ำอุ่นอุณหภูมิ 50 เซลเซียส จะต้องเติมน้ำเย็นอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ลงไปกี่กรัม
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 19 ก้อนอะลูมิเนียมมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยู่ในภาชนะ ที่เป็นฉนวนเมื่อเทน้า แข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 50 กรัม ลงใน ภาชนะ จากนั้นปิดภาชนะด้วยฝาฉนวน อุณหภูมิสุดท้ายภายในภาชนะเป็น เท่าใด ( กำหนด ค่าความจุความร้อนจาเพาะของอลูมิเนียม = 0.9 KJ /kg.K ค่าความจุความร้อนจา เพาะของน้า = 4.2 KJ /kg.K ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้า = 333 KJ / Kg )
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 20 น้ำแข็งอุณหภูมิ -10 oC มีความจุความร้อนจำเพาะ 2.1 กิโลจูลต่อกิโลกรัมต่อเคลวิน และมีความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลว 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ถ้าเอาน้ำแข็งนี้จำนวน 200 กรัม ใส่ลงในกระป๋องแคลอรีมิเตอร์ที่มีน้ำบรรจุอยู่ 550 กรัม มีอุณหภูมิ 30 oC จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของของผสมเป็นกี่ oC เมื่อกระป๋องมีมวล 125 กรัม และมีความจุความร้อนจำเพาะ 0.4 กิโลจูลต่อกิโลกรัมต่อเคลวิน
ผลของพลังงานความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงของวัตถุ ตัวอย่างที่ 21 แคลอรี่มิเตอร์บรรจุน้ำ 500 กรัม น้ำแข็ง 300 กรัม ที่ 0 องศาเซลเซียส ถ้านำโลหะก้อนหนึ่งมวล 1000 กรัม ที่ 240 องศาเซลเซียส ใส่ลงในแคลอรี่มิเตอร์จะทำให้น้ำแข็งละลายหมดพอดี อยากทราบว่าถ้าใส่โลหะชนิดนี้ แต่มีมวลเป็นสองเท่า จะทำให้อุณหภูมิสุดท้ายเป็นเท่าใด โดยไม่คิดความจุความร้อนขอแคลอรี่มิเตอร์