แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Advertisements

สาเหตุ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน เราต่างทราบดีถึงผลกระทบบางอย่างของภาวะ โลกร้อน เช่น การละลายของน้ำแข็งในขั้วโลก.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
ชุมชนปลอดภัย.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
น้ำและมหาสมุทร.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Carbon Footprint.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยการใช้กฎหมาย
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผ่นดินไหว.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสิ่งแวดล้อม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ภาพรวมการพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ ระดับโลก ระดับประเทศ ระดับท้องถิ่น ระดับโรงเรียน และตัวอย่างปฏิบัติการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง.
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
6. อุตสาหกรรม ยุโรปได้ชื่อว่าเป็นทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศมีประชากรผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม แหล่งอุตสาหกรรมส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
อ. ธนา ยีรัมย์ วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ศาสนาเชน Jainism.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
มาทำความรู้จักกับ เห็ดดาวดิน.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หลักการทรงงาน รัชกาลที่ 9.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง จะสร้างความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตและสิ่งก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ภาพแบบจำลองการเกิดแผ่นดินไหว

ตำแหน่งและการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก

การเกิดภูเขาไฟ ภูเขาไฟเกิดจากการปะทุของหินหนืด แก๊ส และเถ้าธุลีภูเขาไฟจากใต้เปลือกโลก ซึ่งการปะทุของภูเขาไฟส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งยังทำให้สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ในขณะเดียวกันก็ทำให้พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น ภาพแบบจำลองแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของภูเขาไฟ

ภาพแสดงเขตภูเขาไฟของโลก ฉ ภาพแสดงเขตภูเขาไฟของโลก

ปรากฏการณ์จากอุทกภาค ฉ ปรากฏการณ์จากอุทกภาค

วัฏจักรทางอุทกวิทยา

การไหลเวียนของกระแสน้ำมหาสมุทร เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น ความแตกต่างของระดับน้ำ ความหนาแน่นแลอุณหภูมิของ น้ำทะเล แรงผลักดันของลมประจำฤดูและลมประจำถิ่น ปรากฏการณ์น้ำขึ้น-น้ำลงแรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟปะทุ เป็นต้น เส้นทางกระแสน้ำอุ่นและกระแสน้ำเย็น

ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดจากอิทธิพลของกระแสน้ำมหาสมุทร ทำให้ลักษณะภูมิอากาศของพื้นที่ต่างๆ เกิดความเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดแหล่งแพลงก์ตอนที่เป็นอาหารของปลา ซึ่งส่งผลให้เกิดบริเวณที่มีปลาชุกชุม เป็นประโยชน์ทางด้านการประมง แกรนด์แบงค์ ประเทศแคนาดา

ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับแหล่งน้ำจืด มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำจืดในหลายด้าน เช่น ใช้อุปโภคบริโภค ใช้ในการสัญจรและการขนส่ง ใช้ในการเกษตรและอุตสาหกรรม ใช้เพื่อสร้างความบันเทิง เป็นต้น

ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับทะเลและมหาสมุทร มนุษย์ใช้ประโยชน์จากทะเลและมหาสมุทรในหลายด้าน เช่น ใช้ในการสัญจรและการขนส่ง ใช้ในการทำประมงและนาเกลือ ใช้เพื่อทางด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น

ปรากฏการณ์จากชีวภาค

พืชที่เติบโตในแผ่นดิน ปรากฏการณ์ทางชีวภาคของพืช ลักษณะทางกายภาพของพืช เช่น ขนาดและความสูงของลำต้น ความแตกต่างของพืชตามลักษณะภูมิอากาศ เป็นต้น การกระจายตัวของพืชพรรณธรรมชาติในโลก ซึ่งมีทั้งพืชที่เติบโตได้ในน้ำจืด น้ำเค็ม และในแผ่นดิน พืชน้ำจืด พืชน้ำเค็ม พืชที่เติบโตในแผ่นดิน

ปรากฏการณ์ทางชีวภาคของสัตว์ สัตว์ในเขตป่าดิบ สัตว์ในเขตป่าอบอุ่น สัตว์ในเขตทุ่งหญ้า สัตว์ในเขตทะเลทราย สัตว์ในเขตขั้วโลก สัตว์ในเขตภูเขา สัตว์ในมหาสมุทร

ตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศ อุทกภาคธรณีภาคและชีวภาค • สึนามิ เมื่อ พ.ศ. 2547 เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวใต้พื้นมหาสมุทร ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทำให้ภูมิประเทศแถบชายฝั่งเปลี่ยนแปลง และสร้างความเสียหายให้แก่ระบบนิเวศบริเวณชายฝั่ง • การใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากซาก ดึกดำบรรพ์ ส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศ ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก สภาพอากาศเกิดความแปรปรวน ฝนทิ้งช่วง เกิดพายุฝน น้ำท่วม อากาศหนาวจัด เป็นต้น

ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ในประเทศไทย

ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับลักษณะธรณีสัณฐานในประเทศไทย • เขตทิวเขาและหุบเขา • บริเวณที่ราบและแอ่ง • บริเวณที่ราบลุ่มน้ำ/แม่น้ำ • บริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล • เขตพื้นที่เนินแบบลูกฟูก • คาบสมุทร • เกาะและหมู่เกาะ จากความแตกต่างทางธรณีสัณฐานดังกล่าว ทำให้ประชากร ในแต่ละพื้นที่มีวิถีการดำรงชีวิต ที่แตกต่างกันในหลายด้าน เช่น การประกอบอาชีพ การตั้งถิ่นฐาน เป็นต้น

ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับลักษณะอุทกภาคในประเทศไทย • ฝนตกหนัก จากอิทธิพลของ ลมมรสุมและพายุหมุนเขตร้อน • น้ำหลากจากภูเขา • น้ำทะเลหนุน เหตุการณ์เหล่านี้ ล้วนส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ทั้งสิ้น

ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับแหล่งน้ำในประเทศไทย • แหล่งน้ำเค็ม ได้แก่ อ่าวไทย และทะเลอันดามัน ล้วนมีความสำคัญต่อมนุษย์ ในการประกอบอาชีพเป็นหลัก • แหล่งน้ำจืด ได้แก่ น้ำผิวดิน น้ำใต้ดินและน้ำบาดาล มีความสำคัญต่อมนุษย์ในด้านการใช้อุปโภคบริโภค และอื่นๆ

ความหลากหลายของชนิดพรรณพืชในประเทศไทย • ป่าไม่ผลัดใบ ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับลักษณะชีวภาคในประเทศไทย ความหลากหลายของชนิดพรรณพืชในประเทศไทย • ป่าไม่ผลัดใบ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าสน ป่าดิบพรุ ป่าชายหาด ป่าชายเลน

• ป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าหญ้า

ความหลากหลายของชนิดพันธุ์สัตว์ในประเทศไทย พบนกชนิดต่างๆ กว่า 910 ชนิด พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกว่า 280 ชนิด พบสัตว์เลื้อยคลานกว่า 290 ชนิด พบสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกว่า 100 ชนิด พบปลาและสัตว์น้ำกว่า 900 ชนิด พบสัตว์ประเภทแมลงกว่า 7,000 ชนิด