แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง จะสร้างความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตและสิ่งก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ภาพแบบจำลองการเกิดแผ่นดินไหว
ตำแหน่งและการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
การเกิดภูเขาไฟ ภูเขาไฟเกิดจากการปะทุของหินหนืด แก๊ส และเถ้าธุลีภูเขาไฟจากใต้เปลือกโลก ซึ่งการปะทุของภูเขาไฟส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งยังทำให้สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ในขณะเดียวกันก็ทำให้พื้นดินมีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น ภาพแบบจำลองแสดงส่วนประกอบต่างๆ ของภูเขาไฟ
ภาพแสดงเขตภูเขาไฟของโลก ฉ ภาพแสดงเขตภูเขาไฟของโลก
ปรากฏการณ์จากอุทกภาค ฉ ปรากฏการณ์จากอุทกภาค
วัฏจักรทางอุทกวิทยา
การไหลเวียนของกระแสน้ำมหาสมุทร เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น ความแตกต่างของระดับน้ำ ความหนาแน่นแลอุณหภูมิของ น้ำทะเล แรงผลักดันของลมประจำฤดูและลมประจำถิ่น ปรากฏการณ์น้ำขึ้น-น้ำลงแรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟปะทุ เป็นต้น เส้นทางกระแสน้ำอุ่นและกระแสน้ำเย็น
ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดจากอิทธิพลของกระแสน้ำมหาสมุทร ทำให้ลักษณะภูมิอากาศของพื้นที่ต่างๆ เกิดความเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดแหล่งแพลงก์ตอนที่เป็นอาหารของปลา ซึ่งส่งผลให้เกิดบริเวณที่มีปลาชุกชุม เป็นประโยชน์ทางด้านการประมง แกรนด์แบงค์ ประเทศแคนาดา
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับแหล่งน้ำจืด มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำจืดในหลายด้าน เช่น ใช้อุปโภคบริโภค ใช้ในการสัญจรและการขนส่ง ใช้ในการเกษตรและอุตสาหกรรม ใช้เพื่อสร้างความบันเทิง เป็นต้น
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับทะเลและมหาสมุทร มนุษย์ใช้ประโยชน์จากทะเลและมหาสมุทรในหลายด้าน เช่น ใช้ในการสัญจรและการขนส่ง ใช้ในการทำประมงและนาเกลือ ใช้เพื่อทางด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น
ปรากฏการณ์จากชีวภาค
พืชที่เติบโตในแผ่นดิน ปรากฏการณ์ทางชีวภาคของพืช ลักษณะทางกายภาพของพืช เช่น ขนาดและความสูงของลำต้น ความแตกต่างของพืชตามลักษณะภูมิอากาศ เป็นต้น การกระจายตัวของพืชพรรณธรรมชาติในโลก ซึ่งมีทั้งพืชที่เติบโตได้ในน้ำจืด น้ำเค็ม และในแผ่นดิน พืชน้ำจืด พืชน้ำเค็ม พืชที่เติบโตในแผ่นดิน
ปรากฏการณ์ทางชีวภาคของสัตว์ สัตว์ในเขตป่าดิบ สัตว์ในเขตป่าอบอุ่น สัตว์ในเขตทุ่งหญ้า สัตว์ในเขตทะเลทราย สัตว์ในเขตขั้วโลก สัตว์ในเขตภูเขา สัตว์ในมหาสมุทร
ตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศ อุทกภาคธรณีภาคและชีวภาค • สึนามิ เมื่อ พ.ศ. 2547 เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวใต้พื้นมหาสมุทร ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทำให้ภูมิประเทศแถบชายฝั่งเปลี่ยนแปลง และสร้างความเสียหายให้แก่ระบบนิเวศบริเวณชายฝั่ง • การใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากซาก ดึกดำบรรพ์ ส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศ ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก สภาพอากาศเกิดความแปรปรวน ฝนทิ้งช่วง เกิดพายุฝน น้ำท่วม อากาศหนาวจัด เป็นต้น
ปฏิสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ในประเทศไทย
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับลักษณะธรณีสัณฐานในประเทศไทย • เขตทิวเขาและหุบเขา • บริเวณที่ราบและแอ่ง • บริเวณที่ราบลุ่มน้ำ/แม่น้ำ • บริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล • เขตพื้นที่เนินแบบลูกฟูก • คาบสมุทร • เกาะและหมู่เกาะ จากความแตกต่างทางธรณีสัณฐานดังกล่าว ทำให้ประชากร ในแต่ละพื้นที่มีวิถีการดำรงชีวิต ที่แตกต่างกันในหลายด้าน เช่น การประกอบอาชีพ การตั้งถิ่นฐาน เป็นต้น
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับลักษณะอุทกภาคในประเทศไทย • ฝนตกหนัก จากอิทธิพลของ ลมมรสุมและพายุหมุนเขตร้อน • น้ำหลากจากภูเขา • น้ำทะเลหนุน เหตุการณ์เหล่านี้ ล้วนส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ทั้งสิ้น
ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับแหล่งน้ำในประเทศไทย • แหล่งน้ำเค็ม ได้แก่ อ่าวไทย และทะเลอันดามัน ล้วนมีความสำคัญต่อมนุษย์ ในการประกอบอาชีพเป็นหลัก • แหล่งน้ำจืด ได้แก่ น้ำผิวดิน น้ำใต้ดินและน้ำบาดาล มีความสำคัญต่อมนุษย์ในด้านการใช้อุปโภคบริโภค และอื่นๆ
ความหลากหลายของชนิดพรรณพืชในประเทศไทย • ป่าไม่ผลัดใบ ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับลักษณะชีวภาคในประเทศไทย ความหลากหลายของชนิดพรรณพืชในประเทศไทย • ป่าไม่ผลัดใบ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าสน ป่าดิบพรุ ป่าชายหาด ป่าชายเลน
• ป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าหญ้า
ความหลากหลายของชนิดพันธุ์สัตว์ในประเทศไทย พบนกชนิดต่างๆ กว่า 910 ชนิด พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกว่า 280 ชนิด พบสัตว์เลื้อยคลานกว่า 290 ชนิด พบสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกว่า 100 ชนิด พบปลาและสัตว์น้ำกว่า 900 ชนิด พบสัตว์ประเภทแมลงกว่า 7,000 ชนิด