ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Inkjet Printer. Inkjet โดย 1. นางสาววิจิตรา ขจร นางสาววิภาพรรณ คิดหมาย นางสาวศรัญญา มิตรเจริญ พันธ์
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact)
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
กระบวนการของการอธิบาย
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
IP-Addressing and Subneting
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
น้ำและมหาสมุทร.
คลื่นและสมบัติความเป็นคลื่น
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
สมบัติของคลื่น.
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
ความหนืด (viscosity) - 
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
ความดัน (Pressure).
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
เศษส่วนและทศนิยม.
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง เป็นปรากฎการณ์ที่ความถี่หรือระดับเสียงที่ผู้สังเกตหรือผู้ฟังได้ยินนั้นเปลี่ยนไปเมื่อ แหล่งกำเนิดเสียง หรือผู้สังเกตอย่างหนึ่งอย่างใดหรือทั้งสองอย่างมีการเคลื่อนที่ “ถ้าแหล่งกำเนิดเสียงและ(หรือ)ตัวเราเคลื่อนที่เข้าหากันเราจะได้ยินเสียงที่มีความถี่สูงขึ้น นั่นคือ เสียงแหลมขึ้น แต่ถ้าเคลื่อนที่ออกจากกัน เสียงที่ได้ยินนั้นจะมีความถี่ต่ำลง นั่นคือ เสียงทุ้มขึ้น” หรือ เป็นปรากฎการณ์ที่ผู้ฟังได้ยินเสียงที่มีความถี่เปลี่ยนไปจากของแหล่งกำเนิดเสียงอันหนึ่งมาจากการเคลื่อนที่ของแหล่งกำเนิดเสียงหรือ การเคลื่อนที่ของผู้ฟัง โดยที่การเคลื่อนที่นั้นจะต้องมีความเร็วน้อยกว่าความเร็วเสียง

กำหนดให้ Vs แทนอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดเสียง Vo แทนอัตราเร็วของผู้ฟัง ความถี่ที่ปรากฎต่อผู้ฟังเนื่องจากปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ของเสียงสามารถหาได้จากสมการดังนี้ เมื่อ f0 แทนความถี่ที่ผู้ฟังได้ยิน หน่วยเป็น(Hz) fs แทนความถี่เสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง หน่วยเป็น(Hz) V แทนอัตราเร็วเสียง หน่วยเป็น(m/s) V0 แทนอัตราเร็วของผู้ฟังเสียง หน่วยเป็น(m/s) Vs แทนอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดเสียง หน่วยเป็น(m/s)

กรณีที่ 1 แหล่งกำเนิดเสียงและผู้ฟังไม่เคลื่อนที่ กรณีนี้ ผู้ฟังจะได้ยินความถี่เสียงด้วยความถี่ที่เท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิดคลื่นที่แผ่ออกมา กรณีที่ 2 แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่แต่ผู้ฟังอยู่จุดเดิม แบ่งเป็น 2 อย่าง 1.แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟัง 2.แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผู้ฟัง กรณีที่ 3 ผู้ฟังเคลื่อนที่แต่แหล่งกำเนิดเสียงอยู่จุดเดิม 1.ผู้ฟังเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิดเสียง 2.ผู้ฟังเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดเสียง

กรณีที่ 2 แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่แต่ผู้ฟังอยู่จุดเดิม แบ่งเป็น 2 อย่าง 1.แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟัง ความยาวคลื่นจะน้อยลง แต่ความถี่ที่ปรากฎต่อผู้ฟังจะเพิ่มขึ้น 2.แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผู้ฟัง ความยาวคลื่นจะเพิ่มขึ้น แต่ความถี่ที่ปรากฏต่อผู้ฟังจะน้อยลง กรณีที่ 3 ผู้ฟังเคลื่อนที่แต่แหล่งกำเนิดเสียงอยู่จุดเดิม กรณีนี้ความถี่ที่แหล่งกำเนิดเสียงแผ่ออกไปเท่าเดิม 1.ผู้ฟังเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิดเสียง ความถี่ที่ปรากฎต่อผู้ฟังจะเพิ่มขึ้น 2.ผู้ฟังเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดเสียง ความถี่ที่ปรากฎต่อผู้ฟังจะน้อยลง

หลักการพิจารณาสมการปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง กรณีที่ผู้ฟังเคลื่อนที่แต่แหล่งกำเนิดเสียงอยู่นิ่ง 1.ถ้าผู้ฟังเคลื่อนที่เข้าหาแหล่งกำเนิดเสียง แล้ว V0 มีเครื่องหมายเป็นบวก 2.ถ้าผู้ฟังเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดเสียง แล้ว V0 มีเครื่องหมายเป็นลบ กรณีที่แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่แต่ผู้ฟังอยู่นิ่ง 1.ถ้าแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ออกจากผู้ฟังแล้ว Vs มีเครื่องหมายเป็นบวก 2.ถ้าแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่เข้าหาผู้ฟังแล้ว Vs มีเครื่องหมายเป็นลบ

ตัวอย่าง รถไฟขบวนหนึ่ง กำลังเคลื่อนที่เข้าสู่ชานชาลาสถานีสามเสน ดัวยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที พร้อมทั้งเปิดหวูดซึ่งมีความถี่ 100 Hz รถเมล์สาย 9 กำลังวิ่งสวนทางกับรถไฟบนถนนขนานกับรางรถไฟด้วยอัตราเร็ว 30 เมตรต่อวินาที จงหาความถี่ปรากฏของเสียงหวูดต่อคนขับรถเมล์คันนั้นว่าเป็นเท่าใด(กำหนดอัตราเร็วเสียงในอากาศ 330 เมตรต่อวินาที)

ตัวอย่าง รถไฟขบวนหนึ่ง กำลังเคลื่อนที่เข้าสู่ชานชาลาสถานีสามเสน ดัวยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที พร้อมทั้งเปิดหวูดซึ่งมีความถี่ 100 Hz รถเมล์สาย 9 กำลังวิ่งสวนทางกับรถไฟบนถนนขนานกับรางรถไฟด้วยอัตราเร็ว 30 เมตรต่อวินาที จงหาความถี่ปรากฏของเสียงหวูดต่อคนขับรถเมล์คันนั้นว่าเป็นเท่าใด(กำหนดอัตราเร็วเสียงในอากาศ 330 เมตรต่อวินาที) วิธีทำ

คลื่นกระแทก (Shock Wave) กล่าวคือ ในกรณีที่แหล่งกำเนิดคลื่นเคลื่อนที่เร็วกว่าคลื่นที่เกิดขึ้น เช่น เครื่องบินที่บินเร็วกว่าเสียง ตัวอย่าง เช่น ถ้าอัตราเร็วของเครื่องบินมากกว่าอัตราเร็วเสียงในอากาศมากๆ จนกระทั่งทำให้รูปกรวยยิ่งเล็กลงมากๆแล้วจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความดันอย่างมากและรวดเร็วเป็นผลทำให้เกิดเสียงดังคล้ายระเบิดในบริเวณที่คลื่นกระแทกนี้เคลื่อนที่ผ่าน ซึ่งอาจทำให้กระจกแตกร้าว เสียงที่เกิดขึ้นนี้จะถูกเรียกว่า Sonic Boom เลขมัค นัมเบอร์ คือ ตัวเลขที่จะบอกให้เราทราบว่า อัตราเร็วของแหล่งกำเนิดคลื่นมีค่าเป็นกี่เท่าของอัตราเร็วของคลื่นในตัวกลาง(Vs/V) เช่น บอกว่า เครื่องบินไอพ่นลำหนึ่งกำลังเคลื่อนที่ ณ ที่เลขนัมเบอร์เท่ากับ 2 นั่นหมายความว่า อัตราเร็วของเครื่องบินนั้นบินเป็น 2 เท่าของอัตราเร็วเสียง