ความต้องการและแรงจูงใจ Needs : เป็นความจำเป็น หรือความอยากมีอยากเป็น ได้แก่ ปัจจัย 4, ความต้องการทางเพศ, ความ ต้องการทั่วไป และความอยากมีอยากเป็น Want : เป็นเป้าหมายหรือวิธีการของแต่ละบุคคลที่จะ สนองความจำเป็นและความอยากของเขา Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ลักษณะความต้องการของผู้บริโภค ความต้องการไม่ใช่ความบกพร่อง 2. ความต้องการเป็นรากฐานการกระทำของผู้บริโภค 3. ความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงได้ 4. ผู้บริโภคมีการตระหนักถึงความต้องการไม่เหมือนกัน 5. ความต้องการสามารถสนองได้ด้วยผลิตภัณฑ์มากกว่าหนึ่งอย่าง Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ประเภทความต้องการของผู้บริโภค 1. ความต้องการปฐมภูมิ : เป็นความต้องการด้านร่างกาย 2. ความต้องการทุติยภูมิ : เป็นความต้องการด้านสังคม Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ ความต้องการของมนุยษ์ในสายตาของมาสโลว์ 1. มนุษย์มีความต้องการไม่สิ้นสุด 2. ความต้องการมนุษย์เรียงลำดับขั้น 3. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่จูงใจ ให้เกิดพฤติกรรมเดิมต่อไป Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ ลำดับความต้องการของมนุษย์มี 5 ขั้น คือ 1. ความต้องการด้านชีวภาพ หรือด้านร่างกาย 2. ความต้องการด้านความปลอดภัยมั่นคง 3. ความต้องการด้านความรักและการยอมรับจากสังคม 4. ความต้องการด้านเกียรติยศ ชื่อเสียง การยกย่อง 5. ความต้องการความสำเร็จสนชีวิต Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ความต้องการด้านประโยชน์หน้าที่และอารมณ์ Functional Needs Identity Needs Emotional Needs
แรงจูงใจ สิ่งกระตุ้น ความต้องการ แรงขับหรือ แรงจูงใจ พฤติกรรม Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
มีรากฐานจากความต้องการ (need) ลักษณะของแรงจูงใจ มีรากฐานจากความต้องการ (need) 2. เป็นตัวลดความตึงเครียด (tension reduction) 3. แรงจูงใจเป็นแรงขับผลักดันให้เกิดพฤติกรรม 4. แรงจูงใจเป็นสิ่งที่มีเป้าหมาย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ทฤษฎีการจูงใจของแม็คเคลแลนด์ ความต้องการประสพความสำเร็จ ความต้องการความรักความผูกพัน ความต้องการอำนาจบารมี
ความขัดแย้งของแรงจูงใจ ความขัดแย้งแบบ บวก-บวก ความขัดแย้งแบบ ลบ-ลบ ความขัดแย้งแบบ บวก-ลบ
กลวิธานป้องกันตนเอง (Defense Mechanisms) คือ ทางออกหรือการแสดงต่างๆ อันเนื่องจากมีความเครียดแต่ไม่สามารถลดความเครียดนั้นได้ เพราะ ไม่สามารถสำเร็จในเป้าหมายที่ตนอยากมีอยากเป็นนั้น จึงแสดงพฤติกรรมอื่นๆ ออกมา Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit
ลักษณะของกลวิธานป้องกันตนเอง 1. กลบเกลี่อน ( Reaction-Formation) 2. หาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง (Rationalization) 3. แสดงการกระทำที่ก้าวร้าว (Aggressions) 4. การทดแทน (Substitution) 5. การถอยหนี (Withdrawal) 6. โยนความคิดความรู้สึกไปทึ่คนอื่น (Projection) 7. ความผิดปกติทางกาย (Conversion) 8. การฝันกลางวัน ( Day Dream or Fantasy) 9. การเก็บกด (Repression) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit