เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ENZYME.
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง …..
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
Material requirements planning (MRP) systems
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
CARBOHYDRATE METABOLISM
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ขดลวดพยุงสายยาง.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์ เอนไซม์ (enzyme) เอนไซม์ เป็นสารอินทรีย์จำพวกโปรตีน ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาชีวเคมี  โดยลดพลังงานกระตุ้นทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

โครงสร้างโมเลกุลและหน้าที่การทำงานของเอนไซม์ 1. โมเลกุลเอนไซม์ทั้งโมเลกุลเรียกไฮโลเอนไซม์ (Holenzyme) จะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ  ส่วนที่เป็นโปรตีนเรียก แอโพเอนไซม์ (Apoenzyme)  ส่วนที่ไม่ใช่โปรตีนแต่ช่วยให้เอนไซม์ทำงานดีขึ้น เรียก โคแฟคเตอร์ (Cofactor)

โคแฟคเตอร์ อาจเป็นสารอินทรีย์ เช่น NAD+ (Nicotinamide Alenine Dinucleotide) ซึ่งมีวิตามิน B5 เป็นองค์ประกอบ หรือ FAD (Flavine Adenine Dinucleotide) ซึ่งมีวิตามิน B2 เป็นองค์ประกอบ ถ้าโคแฟคเตอร์เป็นสารอนิทรีย์ที่จับแท่นกับโปรตีนจะเรียกว่า หมู่พรอสทีติก (prosthetic group) เช่น อิออนของโลหะ ได้แก่ Zn2+ , Mg2+, Fe3+, Cu2- ฯลฯ

โฮโลเอนไซม์ = แอโพเอนไซม์ + โคแฟคเตอร์ โคเอนไซม์ หมู่พรอสทีติก โฮโลเอนไซม์ = แอโพเอนไซม์ + โคแฟคเตอร์ (Holoenzyme) (Apoenzyme) (Cofactor) โคเอนไซม์ (Coenzyme) หมู่พรอสทีติก (Prosthetic group)

2. ในโมเลกุลของเอนไซม์ จะมีตำแหน่งหนึ่งที่จะทำปฏิกิริยากับสาร (Substrate [s]) เรียกบริเวณเร่ง (Active site หรือ Catalytic site) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่สุดของเอนไซม์ ถ้าสูญเสียไป เอนไซม์ทำหน้าที่ไม่ได้ เรียกว่า เอนไซม์สูญเสียสภาพธรรมชาติ (denature)

การรวมตัวระหว่าง สาร (S) กับบริเวณเร่งของเอนไซม์มีทฤษฎีอธิบาย 2 ทฤษฎี คือ 2.1 ทฤษฎีกุญแจ-ลูกกุญแจ (Lock-And-Key Theory)  ซับสเตรท จะมีโครงสร้างสวมเข้ากับบริเวณเร่งของเอนไซม์ได้พอดี เสมือนกับลูกกุญแจกับแม่กุญแจของมัน

2.2 ทฤษฎีเหนี่ยวนำให้พอดี (Induced fit theory)  ซับสเตรท จะเหนี่ยวนำให้บริเวณเร่งของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงมาสวมเข้ากับซับสเตรทได้พอดี ซึ่งนักชีวเคมีจะยอมรับทฤษฎีนี้มาก

แผนภาพแสดงกลไกการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ กับซับสเตรท Lock-And-Key Induced fit theory แผนภาพแสดงกลไกการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ กับซับสเตรท (a) Lock and key theory โดยซับสเตรทจะมีโครงสร้างพอเหมาะพอดีในการสวมเข้ากับเอนไซม์ (b) Induced fit theory โดยซับสเตรทจะเหนี่ยวนำให้โครงสร้างบริเวณ active site ของเอนไซม์เปลี่ยนแปลงมาสวมเข้ากับซับสเตรทได้พอดี

เอนไซม์ (E) ก่อนเกิดปฏิกิริยาขณะเกิดปฏิกิริยา และหลังเกิดปฏิกิริยา จะคงที่ทุกขั้นตอน ตามทฤษฎี Lock and Key E + S ES – Complex E + P E คงที่ทุกขั้นตอน

เอนไซม์จะเปลี่ยนแปลงขณะเกิดปฏิกิริยา แต่ก่อนเกิดและหลังเกิดปฏิกิริยาจะเหมือนเดิม ตามทฤษฎี Induced fit E + S ES – Complex E + P E เปลี่ยนแปลงขณะเกิดปฏิกิริยา E เกิดก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาจะเหมือนเดิม

3. เอนไซม์จะเร่งปฏิกิริยาเคมีในเซลล์โดยการลดพลังงานของปฏิกิริยา (Activation energy) ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น 108 – 1020 เท่าของปฏิกิริยาที่ไม่มีเอนไซม์เร่ง

4. เอนไซม์จะมีความจำเพาะกับซับสเตรท (Substrate specifity) เช่น เอนไซม์มอลเตส จะย่อยเฉพาะมอลโตความจำเพาะกับซับสเตรทของเอนไซม์เช่นนี้ จะย่อยให้ปฏิกิริยาต่างๆ ในเซลล์ ดำเนินไปในเป็นขึ้นตอนอย่างมีระเบียบ

5. อัตราการทำงานของเอนไซม์ เอนไซม์ทุกชนิด มีสถานะทางกายภาพ (Physical state) ความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา (Catalytic function) และเสถียรภาพขึ้นอยู่กับปัจจัยสำคัญหลายชนิด คือ

1. อุณหภูมิ  เอนไซม์แต่ละชนิดจะมีช่วงอุณหภูมิที่ทำงานได้ดีที่สุด (optimum temperature) โดยทั่วๆ ไป จะอยู่ประมาณ 25-40 องศาเซลเซียส  การเพิ่มอุณหภูมิทำให้อัตราเร็วของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นเนื่องจากโมเลกุลมีพลังงานจลน์มากขึ้น ซึ่งจะนำไปใช้กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาได้  แต่ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปปฏิกิริยาจะลดลงทั้งนี้เพราะเอนไซม์ซึ่งเป็นโปรตีนจะเกิดการเสียสภาพธรรมชาติ (denature) จึงเข้ารวมกับซับสเตรทไม่ได้

อุณหภูมิที่เหมาะสม เมื่อได้รับความร้อนก้อนโปรตีนคลายตัว (denature) พอลิเพปไทด์ม้วนเป็นก้อนโปรตีน (nature) เมื่อรับความร้อนลดลงสาย พอลิเพปไทด์จะม้วยตัวกลับสู่สภาพเดิมอีก (renature) พันธะยึดระหว่างสายพอลิเพปไทด์ การเปลี่ยนแปลงของโปรตีนอันเนื่องมากจากความร้อน ถ้าความร้อนไมนสูงจนเกินไป

2. ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)  เปปซิน = 1.5 - 2.5  ซูเครส = 6.2  ไลเปส = 7.2  ทริปซินประมาณ = 8 - 11

กราฟแสดงผลของ pH ต่ออัตราการทำงานของเอนไซม์

3. ปริมาณความเข้มข้นของเอนไซม์ 3. ปริมาณความเข้มข้นของเอนไซม์  ถ้าเอนไซม์มีปริมาณมาก จะทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว  นั่นคือ อัตราเร็วของปฏิกิริยาจะแปรเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของเอนไซม์  แต่ถ้าเอนไซม์มากเกินพอความเร็วของปฏิกิริยาจะไม่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะไม่มีซับสเตรทเหลือพอที่จะเข้าทำปฏิกิริยา

4. ปริมาณความเข้มข้นของซับสเตรท 4. ปริมาณความเข้มข้นของซับสเตรท  ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของซับสเตรทอัตราเร็วของปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น  และความเร็วของปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนโดยตรงกับความเข้มข้นของซับสเตรทในช่วงที่ความเข้มข้นยังน้อย  เพราะถ้าเพิ่มซับสเตรทมากเกินไป ปฏิกิริยาก็จะไม่เกิดเร็วขึ้น เนื่องจากปริมาณของเอนไซม์ไม่เพียงพอ

กราฟแสดงความเข้มข้นของเอนไซม์กับความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ x ความเข้มข้นของเอนไซม์ [E] กราฟแสดงความเข้มข้นของเอนไซม์กับความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ x ความเข้มข้นของซับสเตรท [S] กราฟแสดงความเข้มข้นของซับสเตรทกับความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์

ตัวยับยั้งเอนไซม์ (Inhibitor) ตัวยับยั้งเอนไซม์ คือ สารที่สามารถทำให้ปฏิกิริยาที่มีเอนไซม์เป็นคะตะลิสต์เกิดช้าลงหรือหยุดชะงักลงได้ ตัวยับยั้งเอนไซม์พวกนี้ มีโครงสร้างเกือบกับซับสเตรททุกประเภทและยังสามารถรวมตัวกับเอนไซม์ได้ดีกว่าซับสเตรทอีกด้วย จึงทำให้ไม่มีเอนไซม์เหลือไปช่วยทำให้เกิดปฏิกิริยามีผลทำให้ปฏิกิริยานั้นหยุดชะงักลง สภาพปกติของการทำงาน : E + S E – S Complex E + P

แผนภาพแสดงกลไกการทำงานของเอนไซม์ แผนภาพแสดงกลไกการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์

ประเภทของตัวยับยั้งเอนไซม์ 1. ตัวยับยั้งแบบแข่งขัน (competitive inhibitor)  ตัวยับยั้งประเภทนี้มีโครงสร้างคล้ายซับสเตรท 2. ตัวยับยั้งแบบไม่แข่งขัน (noncompetitive inhibitor)  ตัวยับยั้งประเภทนี้จะเข้าจับกับตำแหน่งอื่นใน โมเลกุลเอนไซม์ (allosteric site) ที่ไม่ใช่บริเวณเร่ง เช่น โลหะหนัก

แผนภาพแสดงตัวยับยั้งเอนไซม์เข้าไปจับกับแอกทีฟไซต์ของเอนไซม์

Inhibitor Active sites not suitable for reception of substrates แผนภาพแสดงการรวมตัวระหว่างเอนไซม์กับตัวยับยั้งเอนไซม์ (inhibition)