การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
การฝึกอบรม “บุคลากร” คือ ทรัพยากรอันมีค่าขององค์การหน่วยงาน ธุรกิจ “คน” เป็นจุดแข็งที่ทำให้องค์การได้รับความสำเร็จ “คนหรือพนักงาน” ที่มีความรู้ความสามารถสูง ได้รับการวางแผนฝึกฝนอบรมอย่างถูกหลักเกณฑ์ เป็นขั้นตอนตลอดเวลา “พนักงานที่มีคุณภาพ” จะมีส่วนสำคัญที่ทำให้องค์กรเข้มแข็ง และเจริญก้าวหน้าสูงสุดพนักงานที่มี คุณภาพความรู้ความสามารถ ศักยภาพในการทำงานสูง คือ เครื่องประดับที่มีค่าขององค์การ การฝึกอบรม
การฝึกอบรม บุคลากร คือ ทรัพยากรอันมี ค่าขององค์การ เราจะรักษาและพัฒนากำลังคน ได้อย่างไร พัฒนาองค์การ คือ งานของ การฝึกอบรม งานพัฒนาก้าวหน้าไปพร้อมกับ การฝึกอบรม งานพัฒนาคน คืองาน ฝึกอบรม การฝึกอบรม
ความสำคัญและประโยชน์ของการฝึกอบรม การค้าขายให้บริการต้องการคนมีฝีมือ * เพราะการบริการที่ดีและมีคุณภาพนั้นจะทำให้ลูกค้านิยมและกลับมารับบริการจากเราซ้ำแล้วซ้ำเล่าตลอดไป การฝึกอบรมอาจจัดทำตามลำดับ ดังนี้ * ฝึกอบรมจากผู้ที่มีความรู้ต่ำ ทำงานไม่ได้ให้สามารถทำงานได้ คนที่ทำงานอยู่แล้ว ให้สามารถทำงานมีประสิทธิภาพ สูงขึ้น หรือผู้มีความสามารถระดับหนึ่ง ให้มีความสามารถสูงขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในงานปัจจุบันเป็นต้น อบรมอย่างไร? จะฟื้นฟูองค์การให้ก้าวหน้าและทันสมัย การประยุกต์ใช้ วิทยาศาสตร์ การทดลองค้นคว้าวิจัยสิ่งใหม่ ๆ ในการฝึกอบรมการปรับตัวให้เข้ากับภาวการณ์และยุคสมัยการ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ อาศัย การฝึกอบรมที่มีคุณภาพเหมาะกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมขององค์กรนั้นได้เป็น อย่างดี และเป็นงานที่องค์กรจะต้องทำอย่างต่อเนื่องกันไปด้วย การฝึกอบรม
การฝึกอบรม คืออะไร การฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการเพิ่มความรู้ ความชำนาญ และความสามารถของบุคคล หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการพัฒนาบุคคล การฝึกอบรม คือ “กระบวนการที่จะส่งเสริมสมรรถภาพของบุคคล (พนักงาน ข้าราชการ) ให้ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันส่งผลโดยตรงไปยังผลงานของสถาบัน สังคม ประชาชน” สรุป การฝึกอบรมเป็นการปรับปรุงสมรรถนะของบุคลากรให้มีมากขึ้น สูงขึ้น มีพฤติกรรมที่ได้ มาตรฐานที่หน่วยงานต้องการ การฝึกอบรม
การฝึกอบรม ต้องฝึกอบรมให้ทั่วถึงทุกระดับ การพัฒนาเจ้าหน้าที่ขององค์การ หลักการฝึกอบรม จะอบรมเมื่อใด การคัดคุณภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ตั้งแต่ระดับสูง ยาม ภารโรง คนงาน พนักงาน ข้าราชการ หัวหน้าแผนก ผู้อำนวยการ ผู้จัดการ ฯลฯ ให้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทัศนคติบุคลิกที่ดีในการปฏิบัติงาน คนต้องสนใจยอมรับการฝึกอบรม ความเหมาะต้องการของแต่ละคน และต้องมีความถี่ ที่เหมาะสมกับผู้เรียน เมื่อไม่มีวิธีอื่นที่ดีกว่า เป็นการปฐมนิเทศการปฏิบัติงานต้องใช้การฝึกอบรม เพื่อนำ วิธีการปฏิบัติงานใหม่ ๆ มาใช้ในการทำงาน เป็นต้น พิจาณาจากคุณสมบัติของสมัครจากความรู้ ความสามารถ การศึกษา ทัศนคติ ความ สนใจ ความสามารถเฉพาะอย่างเป็นต้น การฝึกอบรม
ทำไมต้องฝึกอบรม การเปลี่ยนแปลงขององค์การมีความจำเป็นต้อง ฝึกอบรม ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาพแวดล้อมและพฤติกรรมของบุคคล บทบาทของหัวหน้ากับการฝึกอบรม ความจำเป็นที่องค์การต้องฝึกอบรม แนวทางในการปกครองบังคับบัญชาสมัยใหม่ทำ ให้ต้องฝึกอบรม แนวทางการพัฒนาบุคลากรชั้นต้น ชั้นกลาง ชั้นสูง การฝึกอบรม
สี่ส่วนสำคัญในการจัดการ ฝึกอบรม การคัดเลือกวิทยากรฝึกอบรมที่มีความรู้ความสามารถในการอบรม การคัดเลือกและจัดบุคคลที่เข้ารับการฝึกอบรมให้ถูกต้องเหมาะสม ตรงตามหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรให้ถูกต้องเหมาะสมกับความต้องการในฝึกอบรมระยะเวลาการอบรมเหมาะสม การคัดเลือกวิทยาฝึกอบรมที่มีความรู้ความสามารถในการอบรม การฝึกอบรม
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการฝึกอบรม ประโยชน์อื่นที่ได้รับการจาก ฝึกอบรม ประโยชน์ต่อพนักงาน สนองความต้องการกำลังคน เป็นการลดระยะเวลาการเรียนรู้ให้สั้นเข้า ปรับปรุงความสามารถในการทำงานให้สูงขึ้น ลดความสิ้นเปลือง ลดการขาดงาน ลดการลาออกของคนงาน เพื่อประโยชน์แก่ผู้อบรมเอง เป็นต้น เป็นการปรับปรุงฝีมือของพนักงานทำงานให้ดีขึ้น เป็นการปรับปรุงความสามารถในการทำงาน ช่วยลดความเหนื่อยหน่าย ผิดพลาดในการทำงาน เพิ่มความมั่นใจ มีคุณภาพและบุคลิกภาพดีขึ้น สามารถขยายความรับผิดชอบมากขึ้น เพิ่มความพึงพอใจในงาน สร้างนิสัยการทำงานที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น การฝึกอบรม
ประเภทของการฝึกอบรม การฝึกอบรมก่อนก่อนทำงาน การอบรมปฐมนิเทศ การฝึกอบรมก่อนเข้าทำงาน การฝึกอบรมระหว่างปฏิบัติงาน การฝึกอบรมเฉพาะเรื่องเฉพาะวิชา การอบรมพิเศษ การฝึกอบรม
วิธีและเทคนิคการฝึกอบรม เทคนิคการฝึกอบรม หมายถึง วิธีการสอนการอบรมใน รูปแบบต่าง ๆ ที่จะทำให้ผู้รับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ที่ค่อนข้างถาวรตามวัตถุประสงค์ของการ ฝึกอบรม - โดยการบรรยายหรือการสอน - การประชุม - การประชุมเชิงปฏิบัติการ - การสัมมนา ฯลฯ การฝึกอบรม
การฝึกอบรมพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD) พนักงานที่ยังไม่ได้รับการฝึกอบรม เมื่อผ่านการฝึกอบรม พัฒนาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทำงานไม่ได้ ทำงานไม่ดี ทำงานคุณภาพต่ำ ความรู้ประสบการณ์ต่ำ ขวัญกำลังใจไม่ดี ผลงานต่ำ เป็นต้น ทำงานได้ ทำงานดีขึ้น ทำงานคุณภาพสูงขึ้น ความรู้ประสบการณ์สูงขึ้น ขวัญกำลังใจดีขึ้น ผลงานสูงขึ้น ศักยภาพสูงขึ้น เป็นต้น ผ่านวิธีการหลักทฤษฎี เทคนิค อุปกรณ์ เครื่องมือ กระบวนการ วิทยากร การแนะนำสั่งสอน ฝึกหัด การฝึกอบรม
การฝึกอบรมที่ไม่ถูกต้องและไม่มีประสิทธิภาพ การอบและรม กระบวนการฝึกอบรมที่ไม่ถูกต้อง การฝึกอบรมที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การฝึกอบรมที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ การอบและรม การฝึกอบรม Training Process กระบวนการฝึกอบรม การฝึกอบรมที่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ได้มาตรฐานอันพึงประสงค์ขององค์การ
การพัฒนาบุคคล ความหมายของการพัฒนาบุคคล การพัฒนาบุคคล หรือ การพัฒนาและฝึกอบรมทรัพยากรมนุษย์ คือ กระบวนการใน การพัฒนาและส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถ ความเข้าใจ มีทักษะในการ ปฏิบัติงาน ตลอดจนมีทัศนคติและพฤติกรรมทีดี เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน ที่ดีขึ้น ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ถือเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดขั้นตอนหนึ่งใน การบริหารการพัฒนาทรัพยากร การดำเนินการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรในทางปฏิบัติต้องเริ่มตั้งแต่ เมื่อ พนักเริ่มเข้ามาทำงานโดยการปฐมนิเทศ และจะต้องดำเนินการพัฒนาอีกต่อไปเรื่อย ๆ ตล ลอดเวลาที่พนักงานยังคงทำงานอยู่ในองค์กร การพัฒนาบุคคล
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาบุคคล การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สามารถแบ่งได้เป็นลักษณะต่าง ๆ ได้ 3 ลักษณะ คือ วัตถุประสงค์โดยทั่วไป วัตถุประสงค์ขององค์การ วัตถุประสงค์ของบุคลากร การพัฒนาบุคคล
ประโยชน์ของการพัฒนาบุคคล การพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีประโยชน์ที่จะเกิดได้เป็น 3 ลักษณะ คือ ประโยชน์ต่อพนักงาน ประโยชน์ต่อผู้บริหาร ประโยชน์ขององค์การหรือหน่วยงาน การพัฒนาบุคคล
สาเหตุที่ต้องมีการพัฒนาบุคคล เป็นนโยบายขององค์การ มีการปรับเปลี่ยนระบบหรือวิธีการทำงาน เพื่อรองรับการขยายงานหรือสร้างงานใหม่ เพื่อลดค่าใช้จ่ายจากการสูญเสียที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน เพื่อการแข่งขันกับผู้แข่งขันทางธุรกิจ เพื่อลดปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อเตรียมบุคลากรให้พร้อมที่จะปฏิบัติงานในตำแหน่งต่าง ๆ ในอนาคต การพัฒนาบุคคล
ระบบการพัฒนาบุคคล ระบบการพัฒนาบุคคล การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นระบบที่เรียกว่า (HRD as a System) ส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ปัจจัยนำเข้า (Input) ได้แก่ ความรู้ ทักษะ บุคลิกภาพ แนวคิด พฤติกรรม เป็นต้น กระบวนการแปรสภาพ (Process) ได้แก่ การศึกษา การฝึกอบรม และการพัฒนา เป็นต้น ประโยชน์ต่อผู้บริหาร (Output) ได้แก่ การพัฒนาทางด้านความรู้ ทักษะ บุคลิกภาพ ความคิด และ พฤติกรรม *** แนวคิดนี้ต้องการเน้นถึงประเด็นสำคัญที่ว่า ถ้าต้องการผลลัพธ์ที่มีคุณภาพ ก็จำเป็นต้องใส่ Input ที่สมบูรณ์ และมีคุณภาพเข้าไปในระบบ โดยต้องดูแลกระบวนการที่ใช้ในการพัฒนาบุคคลมีประสิทธิภาพด้วย ไม่จะเป็น วิธีการที่ใช้ในการพัฒนาและฝึกอบรม สภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มี คุณภาพตามที่องค์การต้องการ การพัฒนาบุคคล
บทบาทของการพัฒนาบุคคล บทบาทในการพัฒนาบุคคล ซึ่งเป็นภาพรวมขององค์การ ว่ามีบทบาทดังต่อไปนี้ คือ บทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากร บทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพของงาน บทบาทในการแก้ปัญหา บทบาทต่อการลดความสูญเสีย บทบาทการรองรับการขยายงาน บทบาทในการปรับปรุงและพัฒนาระบบงาน บทบาทในการให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ การพัฒนาบุคคล
หลักการพัฒนาบุคคล หลักการพัฒนาบุคคล หลักการเสริมสร้างความเชื่อถือศรัทธา หลักการรักษาระดับความสนใจให้อยู่ในระดับทีสูงเสมอ หลักการเสริมสร้างภาวะสมอง หลักการเสริมสร้างภาพพจน์ให้ดีในหัวข้อต่าง ๆ หลักการเสริมสร้างความเข้าใจ หลักการเน้นย้ำหรือย้ำ การพัฒนาบุคคล
หลักการพัฒนาบุคคล (ต่อ) จากหลักการที่สำคัญในการพัฒนาบุคคลนี้ ผู้รับผิดชอบด้านการ พัฒนาบุคคล จะต้องทำให้หลักการนี้สามารถครอบคลุมปัจจัยที่เรียกย่อ ๆ ว่า “KUSAB” ความรู้ “Knowledgd” ความเข้าใจ “Understanding” ทักษะ “Skill” ทัศนคติ “Attiude” พฤติกรรม “Behavior” การพัฒนาบุคคล
บทบาทของผู้บริหารงานด้านการพัฒนาบุคคล ผู้บริหารงานด้านการพัฒนาบุคคลจะมีบทบาทที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ ผู้ค้นหา ว่าควรจะมีการจัดโครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาและฝึกอบรมให้กับบุคลากร ในเรื่องใด มีความจำ เป็นมากน้อยเพียงใด ผู้วางแผน ว่าจะจัดเมื่อไหร่ ที่ไหน ใครเป็นผู้ที่เข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรม ใช้วิธีการใด ผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่ดูแลให้เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ผู้ประเมิน นำผลการประเมินด้านต่าง ๆ ไปใช้ปรับปรุงแก้ไขในการดำเนินการครั้งต่อไป ผู้ให้บริการ ต้องอำนวยความสะดวกให้เกิดความพึงพอใจและประทับใจ ผู้บริหาร ทำหน้าที่บริหาร จัดการ ควบคุม กำกับและดูแลให้การดำเนินงานของหน่วยงานบรรลุผลสำเร็จตาม เป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ การพัฒนาบุคคล (ต่อ)
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคคลในองค์การ ผู้บริหารระดับสูง (Top Manager) ผู้รับผิดชอบด้านการพัฒนาบุคคล (HRD Manager) ผู้บังคับบัญชาโดยตรง (Supervisor) บุคลากรในองค์การ (Employees) การพัฒนาบุคคล
ประเภทของการพัฒนาบุคคล 1. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในเรื่องทั่วไป เช่น การพัฒนาและฝึกอบรมในเรื่องเกี่ยวกับการทำงานเป็น ทีม 2. การพัฒนาบุคลเฉพาะเรื่อง เช่น การพัฒนาและฝึกอบรมในหัวข้อเกี่ยวกับการลงบัญชี ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาบุคคล
ประเภทของการฝึกอบรม มี 4 ประเภท การฝึกอบรมก่อนเข้าทำงาน (Pre-Service Training) การฝึกอบรมปฐมนิเทศ (Induction/Orientation) การฝึกอบรมหลังเข้าทำงาน (In-Service Training) การฝึกอบรมก่อนที่จะได้รับการเลื่อนตำแหน่ง (Pre- Promotional Training) การพัฒนาบุคคล
เทคนิคหรือวิธีการในการพัฒนาบุคคล (การฝึกอบรม) การบรรยาย การประชุมอภิปราย การศึกษากรณีตัวอย่าง การสร้างสถานการณ์จำลอง การแสดงบทบาทสมมุติ 6. การสาธิต 8. การระดมสมอง 9. การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน การพัฒนาบุคคล
ขั้นตอนในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาบุคคล การออกแบบโครงสร้างหลักสูตร การให้ผู้บริหารอนุมัติ/เห็นชอบ การวางระเบียบปฏิบัติในการดำเนินงาน การดำเนินการในการจัดการพัฒนาและฝึกอบรม การประเมินผลการพัฒนาและฝึกอบรม วิธีการประเมินผลการพัฒนาและฝึกอบรม การติดตามผลการพัฒนาและฝึกอบรม การพัฒนาบุคคล
ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปัญหาด้านเจ้าหน้าที่ที่ดำเนินการ ปัญหาด้านวิทยากร ปัญหาด้านบุคลากรที่เข้ารับการพัฒนา ปัญหาด้านสถานที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาและฝึกอบรม ปัญหาด้านการบริหารและหัวหน้าหน่วยงานี่เกี่ยวข้อง ปัญหาด้านเวลาและค่าใช้จ่าย การพัฒนาบุคคล
ความก้าวหน้าขององค์การ สรุป เป้าหมายองค์การ ความก้าวหน้าขององค์การ จุดแข็ง หัวใจ ความสำเร็จ ทรัพยากรบุคคล การพัฒนาบุคคล
100 รู้ หรือจะสู้คำว่า ลงมือทำ สรุป 100 รู้ หรือจะสู้คำว่า ลงมือทำ