Framework for Evaluation & Sharing

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
Advertisements

ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Thai Delmar’s core competencies
Health System Reform.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
Quality Improvement Track
Customer Relationship Management (CRM)
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
การจัดองค์กรและกำหนดงานในภาวะฉุกเฉิน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับ พ.ศ. 2549
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
Risk Management System
Framework for Evaluation & Sharing
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
ชี้แจงแนวทางการประเมินส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
Techniques Administration
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
Risk Management in New HA Standards
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
Public Health Nursing/Community Health Nursing
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Framework for Evaluation & Sharing HA Standards Part I Framework for Evaluation & Sharing

I-1 การนำองค์กร Public Concern Neg. Impact Resource Conservation Legal Compliance I-1 การนำองค์กร องค์กรแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมดีเพียงใด Societal Responsibility Governing Body Ethical Behavior Accountability & Evaluation Sustainable Organization Communication Vision, Mission, Values ประสิทธิภาพของการสื่อสารเป็นอย่างไร CEO High Performance Focus on Action Management การปฏิบัติตามสิ่งที่องค์กรมุ่งเน้นเป็นอย่างไร ผลงานขององค์กรเป็นอย่างไร Staff Environment for Improvement บรรยากาศการพัฒนาเป็นอย่างไร Safety Culture Community Support วัฒนธรรมความปลอดภัยเป็นอย่างไร ชุมชนได้รับประโยชน์จากองค์กรอย่างไร

I-2 การบริหารเชิงกลยุทธ์ Strong & Sustainable Organization Goal Achievement มีการวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้านเพียงใด Projection Data Analysis KPI Monitoring & Comparison KPI Strategic Planning Process Strategic Objectives ตัววัดครอบคลุมประเด็นสำคัญและหนุนให้เกิด alignment ทั้งองค์กรหรือไม่ Modify Plan Action Plan มีกระบวนการวางแผนที่ดีเพียงใด วัตถุประสงค์สอดคล้องกับความท้าทายเชิงกลยุทธ์ขององค์กรเพียงใด มีการตอบสนองอย่างเหมาะสมหรือไม่ Plan Implementation Resources มีการจัดสรรทรัพยากรเพียงพอหรือไม่ HR Plan มีแผนและกำลังคนเพื่อปฏิบัติตามกลยุทธ์หรือไม่

I-3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน ได้ข้อมูลที่สำคัญต่อการตัดสินใจหรือไม่ การแบ่งกลุ่มเหมาะสมหรือไม่ Customer Segmentation Customer Requirement วิธีการวัดเหมาะสมหรือไม่ Satisfaction Determination มีการนำข้อมูลไปใช้เพื่อการมุ่งเน้นลูกค้าเพียงใด ติดตามทันทีหรือไม่ ได้ข้อมูลที่นำมา action ได้เพียงใด Customer Feedback Use of Customer Voice Response to Customer Need & Expectation Customer Complaint ตอบสนองคำร้องเรียนรวดเร็วเพียงใด Customer Relationship & Access Customer Satisfaction & Trust การสร้างความสัมพันธ์และการเข้าถึงดีเพียงใด เจ้าหน้าที่ เข้าใจและตื่นตัวเพียงใด Staff Awareness ความพึงพอใจอยู่ในระดับที่น่าพอใจหรือไม่ ผู้ป่วยรับรู้สิทธิเพียงใด Inform Patient Patient’s Right Protection ผู้ป่วยได้รับการคุ้มครองตามคำประกาศสิทธิผู้ป่วยครบถ้วนเพียงใด Implement Patient Charter ผู้ป่วยที่มีความต้องการเฉพาะได้รับการคุ้มครองสิทธิเพียงใด Patient with Specific Need I-3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน

I-4 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ Comparative Data ข้อมูลเปรียบเทียบที่ใช้ เหมาะสมเพียงใด KPI ที่เลือกวัดครอบคลุม KPI ที่สำคัญครบถ้วนเพียงใด มี alignment เพียงใด มีการนำผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์อย่างไร มีการวัดสม่ำเสมอ ได้ข้อมูลที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ และเชื่อมโยงกันเพียงใด มีการวิเคราะห์ข้อมูลเหมาะสมเพียงใด Data Analysis Priority for Improvement KPI Selection & Alignment KPI Measurement & Integration Track Progress & Performance Support Decision Making & Innovation Organization Efficiency & Effectiveness มีการใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจอย่างไร Knowledge Management Knowledge Asset การจัดการความรู้ มีประสิทธิภาพเพียงใด มีความรู้ที่ต้องการเพียงใด IT Support & Quality Assurance ระบบ IT มีความั่นคงปลอดภัยเพียงใด สนับสนุนได้ดีเพียงใด คุณภาพข้อมูลและความรู้น่าเชื่อถือเพียงใด

I-5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การวางแผน สรรหา มอบหมายงาน ธำรงรักษา มีประสิทธิภาพเพียงใด Planning Recruitment Assignment Retention HRM Capacity มีคนเพียงพอหรือไม่ Competence Staff การพัฒนาบุคลากรตรงประเด็นและมีประสิทธิภาพเพียงใด HRD Organization Performance คนมีความรู้ความสามารถและทักษะเพียงพอหรือไม่ PMS, IDP, Recognition, Motivation ผลการดำเนินงานขององค์กรเปลี่ยนไปอย่างไร การประเมินผล การพัฒนา บริหารค่าตอบแทน สร้างแรงจูงใจ เหมาะสมเพียงใด Work System & Culture High Performance Staff Staff Engagement ระบบงานและวัฒนธรรมเอื้อต่อการทำงานที่ได้ผลดีเพียงใด Other Engagement Factors คนมีความผูกพันกับองค์กรเพียงใด คนทำงานดีขึ้นอย่างไร ดูแลปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันอื่นๆ อย่างไร Work Environment & Healthcare Healthy Staff จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพเพียงใด ดูแลและส่งเสริมสุขภาพคนดีเพียงใด สุขภาพคนทำงานเป็นอย่างไร

I-6 การจัดการกระบวนการ CC นั้นเป็นความสามารถเชิงกลยุทธ์ที่จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จหรือไม่ Determine Core Competency I-6 การจัดการกระบวนการ มีนวตกรรมของระบบงานอะไรเกิดขึ้นบ้าง Innovate Overall Work System มีการออกแบบใหม่/สร้างนวตกรรมในกระบวนการให้มีประสิทธิภาพอย่างไร Determine Key Work Process Process Requirement Design & Innovate Work Process กระบวนการบริการของเรา ให้คุณค่าแก่ผู้ป่วยมากพอ และนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กรหรือไม่ กระบวนการเหล่านี้สัมพันธ์กับ CC อย่างไร ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ผู้ป่วยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียงอย่างไร Implement Work Process Deliver Value to Patient/Customer Organization Success Improve Work Process Manage/ControlWork Process Patient’s Expectation, Preference, Decision มีการปรับปรุงกระบวนการด้วยวิธีการที่หลากหลายและเข้มข้นจนทำให้ผลลัพธ์ดีขึ้นตามต้องการหรือไม่ การควบคุมกระบวนการมีประสิทธิภาพเพียงใด ผู้ป่วยมีส่วนร่วมอย่างไร Minimize Inspection & Audit Prevent Rework & Error ยังมีการตรวจสอบที่ไม่จำเป็น ความผิดพลาดและการทำซ้ำที่ป้องกันได้ อีกเพียงใด ที่ไหน

Framework for Evaluation & Sharing HA Standards Part II Framework for Evaluation & Sharing

II-1 การบริหารความเสี่ยง คุณภาพ และความปลอดภัย Leadership Support ผู้นำให้การสนับสนุนอย่างไร Integration & Coordination Concerted & Coordinated Effort for Quality Program มีการเชื่อมโยงและประสานงานดีเพียงใด Teamwork การทำงานเป็นทีมในระดับต่างๆ เป็นอย่างไร Self-assessment มีการใช้ประโยชน์จากการประเมินตนเองอย่างไร Risk Identification Risk Prevention Safe, Effective, Efficient Service มีการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันความเสี่ยงรัดกุมเพียงใด Effective Risk & Safety Management Management & Learning Incident Report การรับรู้อุบัติการณ์เป็นไปอย่างรวดเร้วและครอบคลุมเพียงใด มีการเรียนรู้จากอุบัติการณ์ต่างๆ อย่างไร ระบบบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพเพียงใด Risk Awareness & Safety Culture มีวัฒนธรรมความปลอดภัยเพียงใด Patient Care Review มีการทบทวนคุณภาพครอบคลุมกรณีสำคัญเพียงใด Clinical KPI Monitoring Better Clinical Outcome Clinical CQI มีการใช้ผลการติดตาม KPI เพื่อการพัฒนาอย่างไร ผลลัพธ์ทางคลินิกดีขึ้นอย่างไร การพัฒนาครอบคลุมโรคสำคัญเพียงใด ใช้วิธีการที่หลากหลายเพียงใด

II-2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล มีจุดเน้นและการพัฒนาในเรื่องการนิเทศและกำกับดูแลทางการพยาบาลอย่างไร มีการใช้ข้อมูลวิชาการเพื่อปรับบริการให้ทันสมัยอย่างไร Effective Nursing Administration Function Use Scientific Evidence/Nursing Standards & Ethic สามารถทำงานและสื่อสารร่วมกันในทีม และระหว่างทีมดูแลผู้ป่วยอย่างองค์รวมได้อย่างไร Good Nursing Teamwork ผู้นำทางการพยาบาลเก่งด้านไหน ผลลัพธ์ของบริการพยาบาลมีแนวโน้มอย่างไร มีการบ่งชี้และตอบสนองต่อปัญหาของผู้ป่วยดีเพียงใด Adequate & Competent Nursing Staff Qualified Leadership Effective Nursing Process Good Nursing Practice High Quality Nursing Service อัตรากำลังและความสามารถของพยาบาลเป็นอย่างไร Patient Center Good Nursing Record Effective Risk/ Quality Management Collaboration on Med, IC, HP, Q&S บันทึกทางการพยาบาลมคุณภาพ ประสิทธิภาพ และถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร มีการประสานความร่วมมือกับโครงสร้างในระดับองค์กรอย่างไร ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงและคุณภาพเป็นอย่าไงร มีการนำข้อมูลผลลัพธ์ของบริการพยาบาลไปใช้ประโยชน์อย่างไร

II-2.2 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการแพทย์ มีจุดเน้นและการพัฒนาในเรื่อง credential, privileges, CME อย่างไร มีการใช้ข้อมูลวิชาการเพื่อปรับบริการให้ทันสมัยอย่างไร MSO มีส่วนช่วยผู้บริหารอย่างไรบ้าง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วยร่วมกันอย่างไร Use Scientific Evidence/Medical Standards & Ethic Advisory to Management Credential, Privilege, CME Good Medical Teamwork มีกลไกในการพัฒนาและสื่อสาร ข้อตกลง แนวทางปฏิบัติ และการแก้ปัญหาภายในองค์กรอย่างไร มีการบริหารจัดการและพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพอย่างไร ผลลัพธ์ของบริการทางการแพทย์มีแนวโน้มอย่างไร Communication Problem Solving Agreement Effective Patient Care Management MSO Good Medical Practice High Quality Medical Service มีระบบกำกับดูแลมาตรฐาน คุณภาพและจริยธรรมของวิชาชีพอย่างไร Patient Center Good Medical Record Quality Monitoring & Improvement Collaboration on Med, IC, HP, Q&S บันทึกทางการแพทย์มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร มีการประสานความร่วมมือกับโครงสร้างในระดับองค์กรอย่างไร ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงและคุณภาพเป็นอย่าไร มีการนำข้อมูลผลลัพธ์ของบริการทางการแพทย์ ไปใช้ประโยชน์อย่างไร

II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย แต่ละระบบมีประสิทธิภาพเพียงใด Safe &Effective Work Environment Structure Facility Management Fire Safety Hazardous Safety Management Emergency Management Safe & Reliable Equipment Available Equipment Management Safe & healthy Environment with Effective Management Utility Management Safe & Reliable Utility System Available Supportive Environment Support Health Promotion Learning Environment Healthy Food, Non-harmful Material Water Treatment Environmental Protection Volume of Waste Garbage Disposal

II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ มีการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อลดความเสี่ยงในการกระจายเชื้ออย่างไร ประสิทธิภาพของ คกก.และทีม IC เป็นอย่างไร ยกตัวอย่างการนำ Evidence base มาวางระบบ IC II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ IC Committee IC Professional Scientific Evidence Environment Control Standard Precaution & Hand Hygiene Program Design Goals, Objectives, Strategies, Policy IC Measures อัตราการติดเชื้อภายในโรงพยาบาลเป็นอย่างไร ผลการประเมินแนวทางและมาตราการป้องกันการติดเชื้อ ในรูปแบบต่างๆเป็นอย่างไร มีการเลือกคนและจัดอัตรากำลังงาน ICอย่างไร Minimum Healthcare Associated Infection มีการกำหนดยุทธศาสตร์ และเป้าหมายการขับเคลื่อนงาน IC ในองค์กรอย่างไร Prevention of Specific HAI Resources ระบบสารสนเทศสนับสนุนงาน IC อย่างไร Information System Care of Complex Patient Integration & Coordination มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้ออย่างไร Education Surveillance & Monitoring ระบบงาน IC ผนวกเข้ากับงานพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยขององค์กรและบุคลากรทุกคนโดยรวมได้ดีเพียงใด Outbreak Control บุคคลกรได้รับความรู้เรื่องIC เกี่ยวกับอะไรบ้าง และมีการถ่ายทอดความรู้นี้แก่ผู้ป่วยครอบครัวและชุมชนหรือไม่ การควมคุมการระบาดของการติดเชื้อมีประสิทธิภาพเพียงใด การเฝ้าระวังการติดเชื้อและการใช้ยาต้านจุลชีพมีประสิทธิภาพเพียงใด

II-5 ระบบเวชระเบียน Purpose Security & Confidentiality มีการกำหนดเป้าหมายของการบันทึกเวชระเบียนอย่างไร ครอบคลุมอะไรบ้าง II-5 ระบบเวชระเบียน Purpose มีระบบป้องกันการสูญหายและการรักษาความลับของเวชระเบียนอย่างไร ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ประโยชน์ได้ดีเพียงใด การออกแบบระบบเวชระเบียนตอบสนองความต้องการผู้เกี่ยวข้องหรือไม่อย่างไร Security & Confidentiality Information Access Design มีการให้ความรู้บุคคลากรเรื่องเวชระเบียนเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง มีการประเมินผลอย่างไร Policies & Procedures Data Entry Sufficient Information High Valued Medical Record Education ข้อมูลที่บันทึกในเวชระเบียน มีความครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด เพียงพอที่จะนำไปใช้ประโยชน์หรือไม่ การบันทึกข้อมูลเป็นไปตามนโยบายและระเบียบปฏิบัติ และเป้าหมายของระบบเพียงใด ผลลัพธ์ของการประเมินประสิทธฺภาพและความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องกับระบบเวชระเบียน มีการประเมินประสิทธิภาพของแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับเวชระเบียนที่กำหนดไว้หรือไม่ผลเป็นอย่างไร Medical Record Review มีการนำผลของการทบทวนเวชระเบียนมาพัฒนาให้เกิดความถูกต้อง สมบูรณ์อย่างไรบ้าง

II-6 ระบบจัดการด้านยา Hosp Formulary Procurement Storage ตำรับยา รพ.มีความเหมาะสมเพียงใด (มียาที่จำเป็น มีเท่าที่จำเป็น) ยาที่จัดซื้อจัดหามีคุณภาพที่น่าเชื่อถือเพียงใด ยาได้รับการเก็บสำรองไว้อย่างเหมาะสมปลอดภัยเพียงใด Hosp Formulary Procurement Storage ระบบ Med Reconcile มีประสิทธิภาพเพียงใด ป้องกันปัญหาได้เท่าไร Reconciliation Dispensing error เป็นอย่างไร มีการปรับปรุงอะไรบ้าง Admin error เป็นอย่างไร มีการปรับปรุงอะไรบ้าง Drug Information การถ่ายทอดคำสั่งใช้ยามีความเหมาะสมเพียงใด Patient Response ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงและใช้ เภสัชสารสนเทศเพียงใด Order Transcribe Dispense Admin Prescribing error เป็นอย่างไร มีการปรับปรุงอะไรบ้าง Patient Information DUR/Review Prepare การ monitor ผลการใช้ยา มีประสิทธิภาพและเหมาะสมเพียงใด ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงและใช้ข้อมูลผู้ป่วยเพียงใด การสั่งใช้ยามีความเหมาะสมเพียงใด Monitoring Education PTC Policies & Procedures ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้เรื่องยาที่จำเป็นและ update เพียงใด คณะ กก.ยามีบทบาทในการกำหนดทิศทางและระบบจัดการเพื่อให้มีการใช้ยาที่เหมาะสม ปลอดภัย คุ้มค่าอย่างไร ME/ADR Report มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติเพื่อให้เกิดความมั่นใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัยครอบคลุมครบถ้วนเพียงใด มีการรายงาน ME/ADR ครอบคลุมเพียงใด ข้อมูลถูกนำมาใช้ในการปรับปรุงระบบเพียงใด

II-7.1 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การสื่อสารระหว่างห้องปฏฺบัติการและผู้ใช้ มีความครอบคลุมและมีประสิทธิภาพเพียงใด II-7.1 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ Competent Staff ผู้ตรวจทดสอบมีความรู้ความสามารถเหมาะสมเพียงใด Communication สิ่งแวดล้อมทางกายภาพมีความเหมาะสมเพียงใด Environment ผลการทำ PT เป็นอย่างไร มีการแปลความหมายผลการตรวจโดยห้องปฏิบัติการ (เมื่อมีข้อบ่งชี้) เหมาะสมเพียงใด Proficiency Test Interpretation อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้มีความน่าเชื่อถือเพียงใด Equipment Reliable & Accurate Results Examination Report Supplies & Reagent น้ำยาและวัสดุที่ใช้มีคุณภาพน่าเชื่อถือเพียงใด QA ของการตรวจมีความน่าเชื่อถือเพียงใด คุณภาพรายงานเป็นอย่างไร มาตรฐานการปฏิบัติงาน ได้รับการพิสูจน์ว่าเชื่อถือได้ และมีการปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพียงใด Residual Sample SOP มีการจัดการกับสิ่งส่งตรวจที่เหลืออย่างเหมาะสมเพียงใด สิ่งส่งตรวจที่ได้รับมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้เพียงใด Specimen Quality Management System ระบบบริหารคุณภาพมีประสิทธิภาพเพียงใด

II-7.2 คลังเลือด Donor Selection Blood Collection การเตรียมส่วนประกอบของเลือดทำโดยบุคคล ทรัพยากร และกระบวนการที่พร้อมและเหมาะสมเพียงใด การคัดเลือกผู้บริจาคเลือด มึความเหมาะสมเพียงใด มั่นใจในความเสี่ยงที่น้อยที่สุดเพียงใด การเจาะเก็บเลือดทำโดยบุคคล ทรัพยากร และกระบวนการที่พร้อมและเหมาะสมเพียงใด การจัดเก็บเลือดมีเหมาะสมเพียงใด การขอเลือดจากกาชาดมีประสิทธิภาพเพียงใด Donor Selection Blood Collection Preparation of Blood Component Blood Storage/ Red Cross คลังเลือดสามารถตอบสนองความต้องการในด้านปริมาณและความเร่งด่วนได้ดีเพียงใด การเจาะและตรวจเลือดเพื่อ X-match มีความรัดกุมเพียงใด การสั่งใช้เลือดมีข้อบ่งชี้ที่เหมาะสมเพียงใด Policies & Procedures Blood Testing & Matching Indication/Order Blood Transfusion มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่ครอบคลุมเพียงใด มีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลาหรือไม่ มีการนำผลการทบทวนไปสื่อสารและปรับปรุงอย่างไร Blood use review มีการเฝ้าระวังที่ครอบคลุมตามแนวทางของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติและมีประสิทธิภาพเพียงใด Hemovigilance การตอบสนองเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์มีประสิทธิภาพเพียงใด ผลลัพธ์เป็นอย่างไร Response

II-7.3 บริการรังสีวิทยา Competent Staff Environment Interpretation ผู้ตรวจมีความรู้ความสามารถเหมาะสมเพียงใด สิ่งแวดล้อมทางกายภาพมีความเหมาะสมเพียงใด Environment มีการแปลความหมายผลการตรวจเหมาะสมเพียงใด Interpretation อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้มีความปลอดภัยน่าเชื่อถือเพียงใด Equipment Imaging Study Reliable & Accurate Results Report Safety Measure มาตรการป้องกันอันตรายจากรังสีและอื่นๆ รัดกุมและได้ผลเพียงใด คุณภาพรายงานเป็นอย่างไร เทคนิคการตรวจเหมาะสมเพียงใด ภาพที่ได้มีคุณภาพเพียงใด มาตรฐานการปฏิบัติงาน เหมาะสม และมีการปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพียงใด SOP ผู้ป่วยได้รับการเตรียมตัวอย่างเหมาะสมเพียงใด Patient Quality Management System ระบบบริหารคุณภาพมีประสิทธิภาพเพียงใด

II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนแผนและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างไร การรับรู้การเกิดโรคที่ต้องเฝ้าระวังเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด II-8 การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ผลการประเมินการมีความรู้ความเข้าใจ ความตระหนัก เกี่ยวกับ DHS ของบุคลากรทุกคนเป็นอย่างไร Steering Team Data Entry, Collection, Notification Education ความสามารถในการวินิจฉัยและการสืบค้นโรคระบาดมีความรวดเร็วเพียงใด Policy, Target & Plan ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับโรคและภัยสุขภาพอย่างทั่วถึงเพียงใด มีนโยบาย แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ DHS ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับปัญาหา และความต้องการของพื้นที่อย่างไร Resource Data Analysis & Trend Monitoring Epidemic Diagnosis Information Dissemination มีการจัดสรรงบประมาณ ทรัพยากร และเทคโนโลยี เพื่อการเฝ้าระวัง และสอบสวนโรคให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร มีมาตรการป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพเรื่องใดบ้างอย่างไร สถานการณ์แนวโน้มของโรคที่เฝ้าระวังเป็นอย่างไร และมีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคที่คาดการณ์อย่างไรบ้าง Epidemic Investigation Epidemic Control SRRT Effective Control of Disease & Hazard Evaluation & Improvement SRRT มีความพร้อมและมีประสิทธิภาพเพียงใด ประสิทธิภาพประสิทธิผลของการควบคุมโรคและภัยสุขภาพเป็นอย่างไร มีการประเมินและใช้ประโยชน์ของข้อมูลในการปรับเปลี่ยนมาตรการการควบคุมโรคอย่างไรบ้าง

II-9 การทำงานกับชุมชน Collaborate with Other Providers ความร่วมมือกับผู่ให้บริการอื่นเป็นอย่างไร II-9 การทำงานกับชุมชน Collaborate with Other Providers กำหนดชุมชนครอบคลุมเพียงใด เข้าใจความต้องการของชุมชนชัดเจนหรือไม่ Provide Health Promotion Service Define Communities & Their Needs Plan & Design Health Promotion Service สภาวะสุขภาพของชุมชนเปลี่ยนไปอย่างไร Better Community’s & People’ s Health Empower Groups บริการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนเพียงใด ยังมีอะไรที่ไม่สามารถตอบสนองได้ Community Networking กลุ่มต่างๆในชุมชนแก้ปัญหาอะไรไปบ้าง Empower Individuals ระดับความสัมพันธ์กับชุมชน และระหว่างชุมชนด้วยกันเป็นอย่างไร Communities Are Able to Improve Its Health & Well-being พฤคิกรรมสุขภาพเปลี่ยนไปอย่างไร Promote Physical Environment Advocate Healthy Public Health Policy ชุมชนมีความสามารถในการแก้ปัญหาของตนเองเพียงใด สิ่งแวดล้อมทางกายภาพเปลี่ยนไปอย่างไร Promote Social Climate & Support มีบทบาทอะไรบ้างในเรื่องนโยบายสาธารณะ ชุมชนและผู้ด้อยโอกาสได้รับประโยชน์อะไรบ้างจากกิจกรรมสุขภาพเชิงสังคม

Framework for Evaluation & Sharing HA Standards Part III Framework for Evaluation & Sharing

III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (Access & Entry) ผู้ป่วยที่ได้ส่งต่อ ได้รับการประเมิน ดูแลเบื้องต้น ประสาน รพ.ที่จะส่งต่อ และเคลื่อนย้าย อย่างเหมาะสมเพียงใด Provision of Essential Services บริการที่ รพ.จัดครอบคลุมบริการที่จำเป็นสำหรับชุมชนที่รับผิดชอบเพียงใด Refer ผู้ป่วยที่ต้องการ ICU ได้รับการรับไว้ใน ICU อย่างเหมาะสมเพียงใด Initial Assessment & Prompt Response Access to Essential Services Entry to Intensive Service Reduce Barriers อุปสรรคต่อการเข้าถึงต่างๆ ได้รับการจัดการแก้ไขอย่างรอบด้านเพียงใด ยังมีความต้องการที่จำเป็นอะไรที่มีปัญหาในการเข้าถึง ระยะเวลารอคอยเป็นที่ยอมรับหรือไม่ Informed Consent Entry to General Service Alternative Access ประสิทธิผลของกระบวนการให้ข้อมูลและขอความยินยอม เป็นอย่างไร มีการใช้ทางเลือกต่างๆ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงอย่างเต็มศักยภาพเพียงใด กระบวนการรับผู้ป่วยทั่วไปมีประสิทธิภาพเพียงใด

III-2 การประเมินผู้ป่วย (Patient Assessment) มีความร่วมมือระหว่างสหสาขาวิชาชีพในการประเมิน และการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ เพียงใด III-2 การประเมินผู้ป่วย (Patient Assessment) การบันทึกมีความสมบูรณ์ ถูกต้อง และในเวลาที่กำหนดไว้เพียงใด Collaboration Record Identify Important Care & Urgent Care Needed Initial Assessment ความต้องการของผู้ป่วย ได้รับการระบุไว้อย่างชัดเจนเพียงใด มีการนำไปใช้และทบทวนอย่างไร การประเมินแรกรับ ทำได้ครอบคลุมเพียงใด ทำได้ในเวลาที่กำหนดเพียงใด การวินิจฉัยโรค มีความชัดเจน มีหลักฐานสนับสนุน เพียงใด Scientific Evidence/CPG Investigation Diagnosis การ investigate เป็นไปตามข้อบ่งชิ้ ในเวลาที่เหมาะสม และทำได้เมื่อต้องการเพียงใด มีการใช้ข้อมูลวิชาการเป็นแนวทางในการประเมินและตรวจพิเศษเพื่อการวินิจฉัยเหมาะสมเพียงใด Abnormal Result Special Investigation ผลลัพธ์ที่ผิดปกติ ได้รับการยืนยัน และสื่อสารอย่างเหมาะสมเพียงใด การตรวจพิเศษต่างๆ ทำในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและมีทรัพยากร (เทคโนโลยี คน เครื่องมือ) เหมาะสมเพียงใด Review การทบทวนนำไปสู่การปรับปรุงการวินิจฉัยโรคที่เป็นปัญหา (delayed, ill-defined, inappropriate, incorrect) อะไรบ้าง อย่างไร ผลลัพธ์เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร

III-3 การวางแผน (Planning) มีการใช้ข้อมูลวิชาการเป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยเหมาะสมเพียงใด III-3 การวางแผน (Planning) Scientific Evidence/CPG ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบแผน เป้าหมาย บทบาทของสมาชิก และมีการประสานการดูแลดีเพียงใด ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับการระบุปัญหา/ความต้องการอย่างครบถ้วนเพียงใด Coordinated Patient Care Plan With Team & Goals Health Problems/ Needs Communicate & Coordinate แผนการดูแลผู้ป่วย ครอบคลุมเป็นองค์รวม มีเป้าหมายที่ชัดเจน อยู่ในรูปแบบที่ง่ายในการสื่อสารและใช้ประโยชน์เพียงใด Participation of Patients, Families, & Multidisciplinary Team Review & Update Patient Care มีการทบทวนแผนการดูแลตามข้อบ่งชี้อย่างทันเวลาเพียงใด ผู้ป่วย ครอบครัว และทีมสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องมีบทบาทในการวางแผนเหมาะสมเพียงใด Ongoing Needs After Discharge Empower Patients & Families for Self Care Discharge Plan แผนจำหน่ายครอบคลุมปัญหาและความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่ายได้ดีเพียงใด ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับการเตรียมความพร้อมจนมีความมั่นใจและความสามารถที่จะดูแลตนเองได้ดีเพียงใด ผู้ป่วยแต่ละรายได้รับการระบุปัญหา/ความต้องการที่จะเกิดขึ้นหลังจำหน่ายอย่างครบถ้วนเพียงใด

III-4 การดูแลผู้ป่วย (Care Delivery) Safe Environment เจ้าหน้าที่มีศักยภาพเหมาะสมกับภาระงานที่ได้รับมอบหมายและปัญหาของผู้ป่วยเพียงใด สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยมีความปลอดภัยและเอื้อต่อการป้องกันอันตรายต่อผู้ป่วยเพียงใด Competent Staff Modify Care Plan Care Plan การติดตามเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยมีประสิทธิภาพเพียงใด มีการปรับเปลี่ยนแผนการดูแลเหมาะสมเพียงใด ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างเป็นองค์รวมตามแผนการดูแลที่กำหนดไว้เพียงใด Holistic Care Delivery Monitor Deal with Crisis & Emergency Policies & Procedures Information Sharing & Coordination มีความพร้อมและสามารถตอบสนองต่อภาวะวิกฤตและภาวะฉุกเฉินได้ดีเพียงใด มีการจัดทำและปฏิบัติตามนโยบาย/แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงเหมาะสมเพียงใด Response to Deterioration Accepted Practice การสื่อสาร การรายงานและระบบขอคำปรึกษามีประสิทธิภาพเพียงใด สามารถตอบสนองต่อผู้ป่วยที่มีอาการทรุดลงได้รวดเร็วเพียงใด ยังมีการทำ CPR นอก ICU หรือไม่ เพียงใด การดูแลผู้ป่วยเป็นไปตามแนวปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับเพียงใด มีการปฏิบัติใดบ้างที่สุ่มเสี่ยงต่อการไม่ยอมรับของวิชาชีพ

III-5 การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว (Information & Empowerment) Provide Information & Facilitate Learning ประสิทธิผลในการสอนทักษะที่จำเป็นแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว เป็นอย่างไร ผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีความสามารถในการดูแลตนเองได้ดีเพียงใด แผนการให้ข้อมูลและสร้างการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับปัญหาและความพร้อมของผู้ป่วยแต่ละรายเพียงใด Emotional Support & Counseling Effective Self Care Assess & Plan Learning Activities ผู้ป่วยได้รับความช่วยเหลือด้านอารมณ์จิตใจและการให้คำปรึกษาดีเพียงใด Planning for Self Management Continuously Follow Up มีการวางแผนการดูแลร่วมกันดีเพียงใด แผนมีความเหมาะสมเพียงใด มีการติดตามและช่วยแก้ปัญหาอุปสรรคดีเพียงใด Provide Essential Skill Training ประสิทธิผลในการสอนทักษะที่จำเป็นแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว เป็นอย่างไร Evaluate & Improve ผลการประเมินเป็นอย่างไร มีการนำมาใช้ปรับปรุงอย่างไร

III-6 การดูแลต่อเนื่อง (Continuity of Care) ระบบการนัดหมายและติดตามมีประสิทธิภาพเพียงใด III-6 การดูแลต่อเนื่อง (Continuity of Care) Appointment ระบบการให้ความช่วยเหลือและคำปรึกษามีประสิทธิภาพเพียงใด Assistant & Consultation Discharge Continuity of Care Follow Up การสือสารข้อมูลผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลและทีมงานที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพเพียงใด ผู้ป่วยได้รับการติดตามดูแลโดยทีมเยี่ยมบ้านหรือสถานพยาบาลใกล้บ้านอย่างเพียงพอและเหมาะสมเพียงใด Communicate Patient Information Collaborate & Coordinate การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความครอบคลุมและได้ผลเพียงใด หน่วยงานที่รับดูแลต่อเนื่องมีความพร้อมเพียงใด Process Design Review & Monitor มีการนำผลการทบทวนและติดตามมาใช้ในการปรับปรุงระบบงานและการบันทึกข้อมูลอย่างไรบ้าง