การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
Engineering Mechanics
ทรงกระบอก.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Engineering mechanic (static)
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
ฟิสิกส์1 และ หลักฟิสิกส์1
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
Gas Turbine Power Plant
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
แรงและการเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
ความหนืด (viscosity) - 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ความดัน (Pressure).
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
คำถามที่ 21 อุปกรณ์ที่เป็นโลหะยาว ๆ นี้เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion) ตัวอย่าง เช่น การหมุนของลูกข่าง การหมุนของพัดลม เป็นต้น วัตถุแข็งเกร็ง (rigid body) คือ วัตถุที่ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดตลอดการเคลื่อนที่ 1. จลศาสตร์ของการหมุน

ถ้าวัตถุมีการหมุนรอบแกน z ตำแหน่งเชิงมุมของวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงไป (เมื่อใช้จุด p เป็นตัวแทนของวัตถุ) จะทำให้เกิดการกระจัดเชิงมุม (angular displacement)  ในช่วงเวลา t ขนาดความเร็วเชิงมุมเฉลี่ย ( average angular velocity ) ขนาดความเร็วเชิงมุมขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous angular velocity)

ขนาดความเร่งเชิงมุมเฉลี่ย (average angular acceleration) ความเร่งเชิงมุมขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous angular acceleration) ทิศของความเร่งเชิงมุมจะมีทิศเดียวกับความเร็วเชิงมุมเมื่อความเร็วเชิงมุมเพิ่มขึ้น ทิศของความเร่งเชิงมุมจะมีทิศตรงกันข้ามกับความเร็วเชิงมุมเมื่อความเร็วเชิงมุมลดลง

2. การหมุนด้วยความเร่งเชิงมุมคงตัว สมการการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง สมการการเคลื่อนที่แบบหมุน

3. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงเส้นและตัวแปรเชิงมุม ตัวอย่างที่ 1 วงล้อรถกำลังหมุนด้วยความเร่งเชิงมุมคงที่ 3.5 rad/s2 ถ้าที่เวลา t = 0 ความเร็วเชิงมุมของวงล้อเท่ากับ 2.0 rad/s จงหา ก. ภายในช่วงเวลา 2 วินาที วงล้อหมุนกวาดมุมไปได้เท่าใด และหมุนได้กี่รอบ ข. ความเร็วเชิงมุมของวงล้อที่เวลา t = 2 วินาที 3. ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงเส้นและตัวแปรเชิงมุม

ตัวอย่างที่ 2 โต๊ะตัวหนึ่งสามารถหมุนได้ ถ้าขณะที่เริ่มพิจารณา โต๊ะกำลังหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุม 33 รอบ/นาที และหลังจากหมุนเป็นเวลา 20 วินาที จะหยุดนิ่ง ก. ถ้าสมมติให้ความเร่งเชิงมุมของโต๊ะตัวนี้มีค่าคงตัว จงหาความเร่งเชิงมุม ข. โต๊ะตัวนี้กวาดมุมไปเท่าไร ก่อนจะหยุดนิ่ง ค. ถ้ารัศมีของโต๊ะตัวนี้เท่ากับ 14 cm จงหาขนาดของความเร่งในแนวสัมผัสและความเร่งสู่ศูนย์กลางที่ตำแหน่งขอบโต๊ะ ที่เวลา t = 0 วินาที

4. พลังงานจลน์ของการหมุนและโมเมนต์ความเฉื่อย 4. พลังงานจลน์ของการหมุนและโมเมนต์ความเฉื่อย วัตถุแข็งเกร็งที่เคลื่อนที่แบบหมุนรอบแกนนิ่ง จะมีพลังงานจลน์ ซึ่งพลังงานจลน์ทั้งหมดจะเท่ากับผลรวมของพลังงานจลน์ของแต่ละอนุภาค เรียกเทอม ว่า โมเมนต์ความเฉื่อย มีหน่วยเป็น kg.m2 พลังงานจลน์ของการหมุน มีหน่วยเป็นจูล

สำหรับกรณีการหมุนของวัตถุที่มีการกระจายของมวลอย่างต่อเนื่อง วัตถุเชิงเส้นที่มีความหนาแน่นเชิงเส้น  วัตถุเชิงผิวที่มีความหนาแน่นเชิงผิว  และวัตถุเชิงปริมาตรที่มีความหนาแน่นเชิงปริมาตร V

ตัวอย่างที่ 3 แท่งวัตถุเล็กๆ มีมวล M และยาว L มีพื้นที่หน้าตัดและความหนาแน่นสม่ำเสมอ จะมีโมเมนต์ความเฉื่อยเป็นเท่าใด ถ้า ก. หมุนรอบแกนซึ่งผ่านปลายข้างหนึ่งและตั้งฉากกับแท่งวัตถุนั้น ข. หมุนรอบแกนซึ่งผ่านจุดกึ่งกลางและตั้งฉากกับแท่งวัตถุนั้น ตัวอย่างที่ 4 จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรูปทรงกระบอกกลวงรอบแกนที่เป็นแกนของทรงกระบอก โดยกำหนดให้ความหนาแน่นของทรงกระบอกคงที่ และทรงกระบอกมีมวล M รัศมีภายใน R1 และรัศมีภายนอก R2

รัศมีไจเรชัน (radius of gyration, RK) ตัวอย่างที่ 5 จงคำนวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกลมรัศมี R มวล M รอบแกนหมุนที่ผ่านจุดศูนย์กลางของทรงกลม รัศมีไจเรชัน (radius of gyration, RK) นิยามตามสมการ ตัวอย่าง รัศมีไจเรชันของทรงกลมรอบแกนหมุนที่ผ่านจุดศูนย์กลางมวล ตัวอย่าง รัศมีไจเรชันของทรงกระบอกตันที่หมุนรอบแกนของทรงกระบอก

5. ทฤษฎีบทแกนขนาน “ โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนใดๆ มีค่าเท่ากับโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุนั้นรอบแกนหมุนที่ผ่านจุดศูนย์กลางมวลและขนานกับแกนที่กำหนดให้บวกกับผลคูณระหว่างมวลของวัตถุนั้นกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างแกนขนานนั้น ” โดยที่ Icm คือ โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุมวล M รอบแกนที่ผ่านจุดศูนย์กลางมวล และ I เป็นโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนซึ่งขนานกัน และห่างกันเป็นระยะ h จะได้ว่า

6. ทอร์ก (Torque) ถ้ามีแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวลจะทำให้วัตถุเกิดการหมุน นิยาม มีหน่วยเป็น N.m ทิศทางของทอร์กเป็นไปตามกฎมือขวา

7. งาน พลังงาน กำลัง และทฤษฎีบทงาน - พลังงานจลน์ของการหมุน งานทั้งหมดที่เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนตำแหน่งเชิงมุมเนื่องจากทอร์ก ทฤษฎีบทงาน - พลังงานจลน์ สำหรับการหมุน กำลังของการหมุน

8. โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) นิยาม มีหน่วยเป็น kg.m2/s ทิศทางของโมเมนตัมเชิงมุมเป็นไปตามกฎมือขวา “ อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงมุมมีค่าเท่ากับทอร์กของแรงสุทธิที่กระทำกับอนุภาค ”

กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม “ เมื่อทอร์กลัพธ์ที่กระทำกับวัตถุเป็นศูนย์ โมเมนตัมเชิงมุมรวมของระบบจะมีค่าคงตัว “

9. การเคลื่อนที่แบบกลิ้ง (Rolling Motion) การเลื่อนตำแหน่ง + การหมุน = การกลิ้ง

+++++++++ จบบท +++++++++ พลังงานจลน์ของการกลิ้ง = พลังงานจลน์ของการเลื่อนตำแหน่ง + พลังงานจลน์ของการหมุน โดยอาศัยทฤษฎีบทแกนขนาน +++++++++ จบบท +++++++++

ตัวอย่างที่ 6 ทรงกระบอกตันรัศมี R มวล M หมุนได้อิสระรอบแกนของทรงกระบอกตามแนวระดับ ถ้ามีเชือกเส้นเล็ก ๆ และเบามากพันอยู่รอบผิวของทรงกระบอกนี้ โดยที่ปลายหนึ่งผูกตรึงไว้กับผิวของทรงกระบอกอีกปลายหนึ่งหย่อนลงข้างล่างและผูกกับวัตถุมวล m แกนหมุนอยู่กับที่ เมื่อปล่อยให้วัตถุเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง จงหา ความเร่งเชิงมุมของการหมุนของทรงกระบอก ความเร่งเชิงเส้นของมวล m งานที่กระทำโดยทอร์กเมื่อปล่อยให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นเวลา t โมเมนตัมเชิงมุมเมื่อเวลา t

ตัวอย่างที่ 7 ล้อต้นมวล 6 kg รัศมี 0 ตัวอย่างที่ 7 ล้อต้นมวล 6 kg รัศมี 0.5 m หมุนได้รอบแกนผ่านศูนย์กลางมวลและขนานกับแนวราบ มีเชือกพาดล้อนี้และมีก้อนมวล 4 และ 3 kg ถ่วงปลายเชือกปลายละก้อน จงหา พลังงานจลน์ทั้งหมดเมื่อเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปได้ 5 วินาที ความตึงในเส้นเชือก ตัวอย่างที่ 8 วัตถุเล็กๆ ก้อนหนึ่งมีมวล m ผูกติดกับปลายเชือกเล็กๆ และเบาซึ่งสอดผ่านท่อของหลอดรูปทรงกระบอกกลวง แล้วแกว่งให้หมุนเป็นวงกลมตามแนวระดับด้วยรัศมี r1 และอัตราเร็วคงที่ v1 เมื่อดึงเชือกลงทันทีทำให้รัศมีวงกลมลดลงเป็น r2 จงหาอัตราเร็วเชิงเส้นและอัตราเร็วเชิงมุมของวัตถุในขณะมีรัศมี r2 ในเทอมของ r1 , v1 และ r2

ตัวอย่างที่ 9 วัตถุกลมมีมวล M และรัศมีไจเรชัน k (อาจเป็นล้อหรือวัตถุทรงกลม) กลิ้งลงตามพื้นเอียง AB เริ่มต้นจากหยุดนิ่งที่จุด A ดังรูป เมื่อถึงจุด B วัตถุจะมีอัตราเร็วเชิงเส้นเป็นเท่าใด A h C B