หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ปัญหาการอ่านในระยะเริ่มเรียน รศ. ดร.อุทัย ภิรมย์รื่น
ENL 3701 คำถามบทที่ ๖ รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
รูปแบบการนำเสนอผลงาน วิชา การนำเสนอรายงาน ภาคปลายการศึกษา 2549 ( งานกลุ่มวิชา ) 1. ให้นักศึกษาจัดทำรายงานเรื่อง “ บทบาทของการสื่อสารที่มีส่วนใน.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
เงื่อนไขความเข้าใจความหมาย
มาฝึกสมองกันครับ.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5 รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น

ระบบความหมายกับการอ่าน ๑. สามเหลี่ยมของความหมาย (Semantic triangle) จากแนวคิดของ Ogden & Richard ความหมายเกิดจากองค์ประกอบพื้นฐาน ๓ อย่าง จะขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ กล่าวคือ ๑.๑ การเรียกชื่อ (Naming) ๑.๒ แนวคิดหรือความคิดรวบยอด (Concepts) ๑.๓ ความสำนึกและการอ้างอิง (Sense and Reference)

ชนิดของความหมาย (Kinds of Meaning) มีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับความหมาย จึงทำให้ความหมายมีหลายชนิด สรุปแล้ว มี ๒ อย่างคือ ๑. ความหมายตามตัวหนังสือ (Literal meaning, Denotative meaning) ๒. ความหมายโดยนัย ( Associative meaning, Connotative meaning) ความหมายประการที่ ๒ ไปเกี่ยวโยงกับเรื่องอื่น เป็นความหมายที่เกิดจากตัวผู้ใช้ภาษาซึ่งนำเอาความคิดของตัวเองเข้าไปเปรียบเทียบ ทำให้ตีความไปได้หลายอย่าง

ความหมายเกิดจากหลายปัจจัย ๑. ทางความคิด (Ideational meaning) มีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความคิดของผู้ใช้ภาษา ๒. ความคิดภายในส่วนบุคคล (Inter-personal meaning) ซึ่งแสดงออกมาทางการพูด การสนทนาในโอกาสต่างๆ ๓. ทางอารมณ์ หรือการประเมินผล (Emotive or Evaluative) ๔. ความสัมพันธ์ทางสังคม (Social relations) ๕. โดยนัย (Implication) การเปรียบเทียบ ใช้ตรรกะหรือเหตุผลอ้างอิง ๖. การมีข้อสันนิษฐานไว้ล่วงหน้า (Presupposition)

ความหมายที่เป็นพื้นฐานในการอ่าน ความรู้เรื่องความหมายช่วยให้เกิดความเข้าใจจากการอ่าน ซึ่งประกอบด้วยบริบท (context) ต่างๆเป็นตัวชี้แนะด้านความหมาย ได้แก่ ๑. บริบททางภาษา (Language context) เช่น บริบทที่ให้ความหมาย เป็นพวกคำต่างๆที่นำมาพูดหรือเขียน การจัดกลุ่มคำ โวหารหรือสำนวนพูด การจัดระเบียบคำกับไวยากรณ์ เป็นต้น ๒. บริบทนอกเหนือจากภาษา (Non-linguistic context) เช่น การตัดขาดจากบริบท สถานการณ์ต่างๆ พฤติกรรมที่แสดงออกมา และสัมพันธภาพทางภาษา เป็นต้น

ความหมายของคำและประโยค คำเป็นหน่วยของความหมาย เมื่อนำมาประกอบกันเข้ามีความหมายสมบูรณ์ขึ้น จึงเป็นประโยค และมีใจความต่อเนื่องกันไป เป็นเรื่องราวต่างๆ คำมีหลายรูป มีความหมาย ทั้งในตัวของมันเอง และหน้าที่ทางไวยากรณ์ เช่น คำพ้องความหมาย คำตรงกันข้าม คำคู่ คำที่เทียบเคียงกันไม่ได้ คำที่มีหลายรูป เป็นต้น

ประโยคและความหมาย ประโยค (Sentence) เกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ การแปลความหมายของประโยค เกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ เช่น ประโยคพื้นฐาน และประโยคที่เปลี่ยนแปลงหรือปริวรรตไปตามกฏที่เขียนขึ้นมาจากลุ่มคำต่าง เพื่อสร้างความหมาย มีทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างประโยคอยู่ ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือทฤษฎีเกี่ยวกับการแปรเปลี่ยนของรูปประโยค ทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมา (Transformative grammar or Syntactic Grammar) ความหมายเกิดจากคำที่เป็นการกระทำ แล้วมีความสัมพันธ์กับคำอื่นๆ เกิดเป็นประโยคขึ้นมา (Case Grammar or Semantic-generative Grammar)

การวิเคราะห์ประโยค การวิเคราะห์ประโยคเพื่อหาความหมายทำได้หลายวิธี เพื่อการอ่านแบบมีวิจารณญาณ (Critical reading) เช่น ๑. Projection rules การวิเคราะห์ส่วนประชิดของประโยคเพื่อพิจารณาความหมายว่าผิดปกติ (Anomalous)หรือกำกวม (Ambiguous) หรือไม่ ๒.Predicate calculus การวิเคราะห์ส่วนสมบูรณ์ ว่ามีการวางข้อเสนอ (Proposition) อะไรไว้บ้าง ๓. ลักษณะที่เป็นเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ ๔. ระบบความหมายและไวยากรณ์

หัวข้อการอภิปรายและตอบคำถาม ๑. ความหมายเกิดขึ้นได้อย่างไร มีส่วนประกอบที่สำคัญอย่างไรบ้าง ๒. การแปลความหมายของคำมีหลักการวิเคราะห์อย่างไรบ้าง ๓. ทำไมคำจึงมีหลายความหมายได้ ยกตัวอย่างประกอบด้วย ๔. การอ่านต้องอาศัยบริบทอะไรบ้างจึงจะช่วยให้เข้าใจความหมายได้อย่างสมบูรณ์ ๕. มีหลักในการวิเคราะห์ความหมายของประโยคในการพูดและการเขียน หรือไม่ และทำได้อย่างไร