บทบาทของกรมการปกครองกับ กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) โดย..วรวิทย์ ยอแสงนอ.72.5472
1. วัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อศึกษารูปแบบการอำนวยความเป็นธรรมในบทบาทหน้าที่ของกรมการปกครอง 2. นำผลการศึกษาที่ได้ไปพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือกของกรมการปกครองทั้งด้านการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงกฎหมาย
2. กรอบแนวความคิดการวิจัย บทสรุป ข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนา การดำเนินงาน บทวิเคราะห์ปัญหา และข้อจำกัดของ การดำเนินงาน กฎมายที่เกี่ยวข้องกับ ภารกิจของ ปค. บทบาทของ ปค. ด้าน อำนวยความเป็นธรรม กระบวนการยุติธรรม ทางเลือก ในประเทศอังกฤษ หลักการพื้นฐานในทางทฤษฎีของกระบวนการยุติธรรมทางเลือก
3. ระเบียบวิธีการวิจัย 1. การศึกษาวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) 2. ศึกษาเปรียบเทียบกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือก ของต่างประเทศ (ประเทศอังกฤษ) www.themegallery.com Company Logo
4. ผลการวิจัย กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) ในบทบาทของกรมการปกครอง ในการบริหารราชการส่วนภูมิภาคระดับอำเภอ มีลักษณะเป็นการระงับข้อพิพาททางเลือกในกระบวนการยุติธรรม (Alternative Dispute Resolutions – ADR) โดยใช้รูปแบบการไกล่เกลี่ย (Mediation) และกระบวนการยุติธรรมชุมชน (Community Justice) องค์กรภาครัฐ (อำเภอ) อาศัยอำนาจตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 มาตรา 61/1 มาตรา 61/2 (คดีแพ่ง) และมาตรา61/3 (คดีอาญา : แต่มีข้อจำกัดเรื่องความผิดอันยอมความได้ คือ ไม่สามารถไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทในคดีเกี่ยวกับเพศ) และพ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551 มาตรา 87 (อุดช่องว่างคดีแพ่ง เพราะไม่จำกัดจำนวนทุนทรัพย์ ตามแนวคำพิพากษาศาลฎีกา 906/2506 ตาม ป.พ.พ.) www.themegallery.com Company Logo
4. ผลการวิจัย (ต่อ) องค์กรภาคประชาชน (คณะกรรมการหมู่บ้าน) อาศัยอำนาจตาม ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการปฏิบัติงานประนีประนอมข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ.2530 และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ว่าด้วยเอกเทศสัญญา มาตรา 850 – มาตรา 852 (สัญญาประนีประนอมยอมความ) ไม่จำกัดทุนทรัพย์ในคดีแพ่ง ทุกความผิดอันยอมความได้ในคดีอาญา : แต่มีปัญหาในเรื่องความชัดเจนของอำนาจตามกฎหมาย และลำดับศักดิ์ของกฎหมายระหว่างข้อบังคับฯ กับ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ฯ ปัญหาการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทในบทบาทของกรมการปกครอง เช่นคุณลักษณะของผู้ไกล่เกลี่ย ความรู้ความเข้าใจองค์ความรู้ที่จำเป็น ความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันของคู่เจรจา การสนับสนุนจากภาครัฐ เช่น สถานที่ไกล่เกลี่ย กฎหมายที่ไม่เอื้ออำนวย (ยังมีข้อจำกัด) www.themegallery.com Company Logo
4. ผลการวิจัย (ต่อ) เปรียบเทียบกับการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทของประเทศอังกฤษ เฉพาะประเด็นที่น่าสนใจ 1. การจูงใจให้ใช้การไกล่เกลี่ย (The English Rule) 2. ค่าตอบแทนการใช้บริการการไกล่เกลี่ย ตามจำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาท 3. การใช้บริการไกล่เกลี่ยจากภายนอก (Outsourcing) 4. กำหนดระยะเวลาการไกล่เกลี่ยไว้ค่อนข้างเคร่งครัดชัดเจนขึ้นอยู่กับ จำนวนทุนทรัพย์ที่พิพาท เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ 5. การพัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่ไกล่เกลี่ย (เป็นวิชาชีพ) 6. การควบคุมคุณภาพของผู้ไกล่เกลี่ย (Quality control)/ประเมินผล www.themegallery.com Company Logo
4. ผลการวิจัย (ต่อ) ข้อเสนอแนะ 1. ควรผลักดันให้มีการแก้ไขกฎหมาย ให้การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท เป็นแบบบังคับ (Mandatory Mediation) ในคดีที่ไม่ร้ายแรง 2. บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาทใน บทบาทหน้าที่ของกรมการปกครอง ควรรวมถึงอำนาจในการกำหนด มาตรการเยียวยาให้แก่ผู้เสียหาย เช่น การบำเพ็ญประโยชน์ 3. พัฒนาความพร้อมของบุคลากรในเรื่ององค์ความรู้ เพื่อนำสู่ความเป็น วิชาชีพ (Professional) 4. กำหนดมาตรการควบคุมคุณภาพในทุกด้าน มีการประเมินผลเพื่อ พัฒนาการทำงานอย่างต่อเนื่อง www.themegallery.com Company Logo
Ask & Answer ?