การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
Engineering Mechanics
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กระบวนการของการอธิบาย
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การจัดการความรู้ KM อำเภอเสนางคนิคม.
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
แรงและการเคลื่อนที่.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การศึกษาการเคลื่อนที่เชิงอนุภาค
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
โลกของคลื่นและปรากฏการณ์คลื่น
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ความดัน (Pressure).
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยิ้มก่อนเรียน.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ข้อสอบ O-Net

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 1. (O-NET’49)นอตขนาดเล็กผูกด้วยสายเอ็นแขวนไว้ให้สายยาว L ซึ่งสามารถเปลี่ยนให้มีค่าต่าง ๆ ได้ คาบของการแกว่ง T ของนอตจะขึ้นกับความยาว L อย่างไร 1. T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L 2. T เป็นปฏิภาคโดยตรงกับL 3. T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L2 4. เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 2. (O-NET’49)รถไตถังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอและวิ่งครบรอบได้ 5 รอบในเวลา 2 วินาที หากคิดในแง่ความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่จะเป็นเท่าใด 1. 2.5 Hz 2. 1.5 Hz 3. 0.5 Hz 4. 0.4 Hz

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 3. (O-NET’49)โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 4.9 เมตร/วินาที นานเท่าใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด (g=9.8 m/s2) 1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 1.5 s 4. 2.0 s

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 4. (O-NET’49)การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงตำแหน่งสูงสุด อัตราเร็วของวัตถุจะเป็นอย่างไร 1. มีค่าเป็นศูนย์ 2. มีอัตราเร็วแนวราบเป็นศูนย์ 3. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่ 4. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วเมื่อเริ่มเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 5. (O-NET’49)ถ้าการแกว่งของนอตแบบอาร์มอนิกอย่างง่ายจากตำแหน่ง A ไป B ใช้เวลา 0.5 วินาที คาบการแกว่งจะมีค่ากี่วินาที (แบบเติมคำตอบ) ตอบ................................................................................

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 6. (O-NET’50)ยิงวัตถุจากหน้าผาออกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของวัตถุมีค่าคงตัว 1. อัตราเร็ว 2. ความเร็ว 3. ความเร็วในแนวดิ่ง 4. ความเร็วในแนวระดับ

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 7. (O-NET’50)เหวี่ยงจุกยางให้เคลื่อนที่เป็นแนววงกลมในระนาบระดับศีรษะ 20 รอบใช้เวลา 5 วินาที จุกยางเคลื่อนที่ด้วยความถี่เท่าใด           1.  0.25 รอบ/วินาที       2.  4 รอบ/วินาที       3.  5 รอบ/วินาที       4.  10 รอบ/วินาที

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 8. (O-NET’50)การเคลี่อนที่ใดที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ตลอดเวลา           1. การเคลื่อนที่ในแนวตรง       2. การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว       3. การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์       4. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

9. (O-NET’51) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการตกแบบเสรี กำหนดให้ การเคลื่อนที่ทุกข้อ ไม่คิดแรงต้านอากาศ 1. โยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่ง 2. ปล่อยลูกกอล์ฟจากยอดตึกให้ตกลงมาในแนวดิ่ง 3. ยิงลูกปืนจากยอดหน้าผาออกไปในแนวระดับ 4. ผูกถุงทรายเข้ากับสปริงในแนวดิ่งซึ่งตึงไว้กับเพดาน ดันถุงทราบขึ้นแล้วปล่อย

10. (O-NET’51) การเคลื่อนที่ของข้อใดต่อไปนี้ที่ความเร่งของวัตถุเป็นศูนย์ 1. การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว 2. การตกลงตรง ๆ ในแนวดิ่งโดยไม่มีแรงต้านอากาศ 3. การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวระดับด้วยอัตราเร็วคงตัว 4. การไถลลงเป็นเส้นตรงบนพื้นเอียงลื่นที่ไม่มีแรงเสียดทาน

11. (O-NET’51) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 1. แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่ง ผลักลูกตุ้มให้แกว่งเป็นวงกลม โดยเส้นเชือกทำมุมคงตัวกับแนวดิ่ง 2. แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่งดึงลูกตุ้มออกมาจนเชือกทำมุมกับแนวดิ่งเล็กน้อยแล้วปล่อยมือ 3. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ ตรึงอีกด้านของปลายสปริงไว้ ดึงวัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ 4. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ตรึงอีกด้านของปลายสปริงไว้ ดึงวัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ

12. (O-NET’51) ผูกวัตถุด้วยเชือกแล้วเหวี่ยงให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวระนาบดิ่ง ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่มาถึงตำแหน่งสูงสุดของวงกลม ดังแสดงในรูป แรงชนิดใดในข้อต่อไปนี้ที่ทำน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง 1. แรงดึงเชือก 2. น้ำหนักของวัตถุ 3. แรงดึงเชือกบวกกับน้ำหนักของวัตถุ 4. ที่ตำแหน่งนั้น แรงสู่ศูนย์กลางเป็นศูนย์

13. (O-NET’52) การเตะลูกบอลอกไป ทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ดังรูป และกำหนดให้ทิศขึ้นเป็นบวก กราฟในข้อใดต่อไปนี้บรรยายความเร่งในแนวดิ่งของลูกบอลได้ถูกต้อง ถ้าไม่คิดแรงต้านอากาศ  

14. (O-NET’52)

15. (O-NET’52)

16. (O-NET’52)

สวัสดี