นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ผลของการเสริมวิตามิน บี 12 ต่อองค์ประกอบของไข่
โครงการ ผู้พิทักษ์น้ำบาดาล รุ่นที่ ๒
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
ธาตุและสารประกอบ จัดทำโดย เด็กหญิงสุปราณี เทียนทอง
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
สารละลาย(Solution).
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
การตรวจพิสูจน์อัญมณี gemstone identification
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
(Introduction to Soil Science)
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
พารามิเตอร์ในสายส่ง ในสายส่ง มีค่าทางไฟฟ้าแทนตัวมันอยู่ 4 ค่า คือ
เครื่องดูดน้ำลายเคลื่อนที่
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
โครงสร้างโลก.
สารและสสาร.
ตารางที่ ก.5 ปริมาณเหล็กเสริมและค่าสัมประสิทธิ์ต้านแรงดัด
เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
ความยืดหยุ่น Elasticity
ชื่องานวิจัย Rotational dynamics with Tracker
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
สมบัติเชิงกลของสสาร Mechanical Property of Matter
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ตารางธาตุ.
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
กฎกระทรวง สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ พ.ศ. 2560
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
อาจารย์ปิยะพงษ์ ทวีพงษ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การประเมินราคา (Cost estimation).
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา ว21101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ T = 150 N B mg = 200 N

หลักการ คือ จะต้องเขียน FBD และตั้งสมการจากภาพ จากาพ 𝐹 =0 mg – B = 0 mg B

ถ้าเราออกแรงกดวัตถุ F จากาพ F + mg = B F +mg – B = 0 mg B

ผูกรั้งวัตถุในของเหลว

Vของเหลว = Vวัตถุ ปัญหาต่อมา คือ เราจะหาแรงลอยตัวได้อย่างไร (B) วิธีการ คือ 1. สร้างถ้วยยูเรกา 2.ใช้หลักของอาร์คีมีดีส -ปริมาตรของของเหลวที่ล้นออกมา เท่ากับปริมาตรของวัตถุที่จม Vของเหลว = Vวัตถุ -แรงลอยตัวเท่ากับ น.น.ของของเหลวที่ล้นออกมาและเท่ากับ น.น.วัตถุทั้งก้อน

ถ้า Vวัตถุ = 2 m3 แล้ว Vน้ำ = 2 m3 ตามหลักของอาร์คีมีดีส mg B ถ้า แรงลอยตัว คือ 20,000 นิวตัน ดังนั้น น.น.ของน้ำก็เป็น 20,000 นิวตัน เช่นกัน

ในการคำนวณ หลักการที่ต้องนำมาช่วย คือ ต้องใช้ ความหนาแน่น เข้ามาช่วยในการพิจารณา นั่นหมายความว่า ตรงไหนมีมวล (m)เราจะต้องนึกถึงความหนาแน่น(𝝆) 𝝆 = 𝒎 𝒗

1. โลหะผสมมวล 2 kg มีความหนาแน่น 2 1.โลหะผสมมวล 2 kg มีความหนาแน่น 2.5 x 103 kg/m3 ผูกติดกับตาชั่งและจมอยู่ในน้ำดังรูป ตาชั่งจะอ่านค่าได้กี่นิวตัน กำหนดความหนาแน่นของน้ำ 103 kg/m3

Vน้ำ = Vวัตถุ วิธีทำ เติมถ้วยยูเรกาแล้วเขียนแรง 𝐹 =0 T แรงขึ้น = แรงลง แรงขึ้น = แรงลง T + B = mg mg T + m น้ำg = mวัตถุg B T + ρ น้ำVน้ำ g = mวัตถุg Vน้ำ หาจากหลักของอาร์คีมีดีส Vน้ำ = Vวัตถุ

2. ทรงกระบอกยาว 5 cm มีพื้นที่หน้าตัด 2. 5 cm2 มีความหนาแน่นเป็น 0 2.ทรงกระบอกยาว 5 cm มีพื้นที่หน้าตัด 2.5 cm2 มีความหนาแน่นเป็น 0.75 เท่าของความหนแน่นของน้ำ(103 kg/m3) เมื่อนำทรงกระบอกอันนี้ไปวางบนน้ำ อยากทราบว่า ทรงกระบอกนี้จะจมน้ำลึกกี่เซนติเมตร วิธีทำ หลักการคือ 1. วาดถ้วยยูเรกา 2. เขียนแรงที่กระทำ

A = 2.5 cm2 𝝆=𝟎.𝟕𝟓 เท่าของน้ำ คือ 𝟎.𝟕𝟓 x 103 กำหนดให้ L คือความยาวของวัตถุในส่วนที่จม = ? 5 cm L mg B

A = 2.5 cm2 𝐹 =0 แรงขึ้น = แรงลง 5 cm B = mg L m น้ำg = mวัตถุg ρ น้ำVจมน้ำ = ρวัตถุVวัตถุ mg B ρ น้ำALจมน้ำ = ρวัตถุA×สูงวัตถุ

4.วัตถุแข็งก้อนหนึ่งปริมาตร 500 cm3 ผูกปลายข้างหนึ่งด้วยเชือกแล้วนำไปแขวนกับตาชั่งสปริง เมื่อนำไปถ่วงน้ำจนวัตถุจมมิดก้อนพอดี ปรากฏว่า ตาชั่งสปริงอ่านค่าน้ำหนักของวัตถุได้ 39.5 N จากตารางที่กำหนดให้ต่อไปนี้ วัตถุแข็งชนิดนี้คืออะไร ชนิดของสาร ความหนาแน่น (103 kg/m3 ) Al Fe Cu Ag Pb 2.7 7.8 8.9 10.5 11.3

ข้อ 4. วิธีทำ ถามว่า วัตถุก้อนนี้มีความหนาแน่นเท่าไหร่ 𝝆 = ? หลักการ คือ เติมถ้วยยูเรกาแล้วเขียนแรง Vวัตถุ = 500 cm3 𝝆 = ? T = 39.5 N mg B

T + ρ น้ำVน้ำ g = ρวัตถุVวัตถุg Vวัตถุ = 500 cm3 𝐹 =0 แรงขึ้น = แรงลง T = 39.5 N T + B = mg T + m น้ำg = mวัตถุg mg B T + ρ น้ำVน้ำ g = ρวัตถุVวัตถุg

ผูกรั้งวัตถุในของเหลว วิธีทำ แรงตึงเชือกที่ผูกวัตถุไว้มีค่าเท่าไหร่ T = ? N หลักการ คือ เติมถ้วยยูเรกาแล้วเขียนแรง mg B T

𝐹 =0 แรงขึ้น = แรงลง T + mg = B T + m วัตถุg = m น้ำg mg B แรงขึ้น = แรงลง T + mg = B T + m วัตถุg = m น้ำg mg B T + m วัตถุg = ρ น้ำVน้ำ g T Vน้ำ = Vวัตถุ = 0.06 m3