เปิดทัศนคติและการวิเคราะห์บุคคล และมองคนด้วยหลักจิตวิทยาและพฤติกรรมบุคคลเพื่อเสริมสร้างความสำเร็จในงาน รศ.ดร.ทองฟู ศิริวงศ์
โรคของนักบริหาร คุณเคยมีอาการเหล่านี้ไหม ปวดท้อง ปวดศรีษะ แน่นหน้าอก เจ็บไหล่ หิวอยู่เสมอ หรือ ทานไม่ลง นอนไม่หลับ ท่านเครียดแล้วค่ะ
จุดม่งหมายของการศึกษาเรื่องนี้ เพื่อเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ ทราบถึงความแตกต่างของคนและเพื่อนร่วมงาน แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคล การสร้างสัมพันธ์ภาพอันดี กับเพื่อนร่วมงาน การควบคุมพฤติกรรม และเจตนารมย์ของผู้อื่ น วิธีการ สร้างเสน่ห์ใน บุคลิกภาพ ความสัมพันธ์ กับผู้ใต้บังคับบัญชา
คุณเป็นคนประเภทใด โง่ 4 1 2 ขยัน ขี้เกียจ 3 ฉลาด
1. พฤติกรรมเอกบุคคล (Individual Behavioral) โดยศึกษาถึงพฤติกรรมของตน (lndividual Behavioral) และ พฤติกรรมของกลุ่มบุคคล (Group Behavioral) พฤติกรรมองค์การ (Organization Behavior) 1. พฤติกรรมเอกบุคคล (Individual Behavioral) บุคคล (Individual) หรือหนังสือบางเล่มเรียกว่า “ เอกบุคคล “ ปัจเจกบุคคล การศึกษาด้านพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ โดยศึกษาถึง (1) ความสามารถและทักษะ เช่น สติปัญญาทางกายภาพ (2) ภูมิหลังเช่น ครอบครัวและสังคม ประสบการณ์ (3) ลักษณะทางกายภาพ อายุ เพศ
นักทฤษฎีหลายท่านได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า 1. พฤติกรรมที่แสดงออกต้องมีสาเหตุ 2. พฤติกรรมเป็นผลมาจากการวางเป้าหมาย 3 พฤติกรรมสามารถสังเกตและวัดได้ 4 พฤติกรรมไม่สามารถจัดได้โดยตรง เช่น การคิด การรับรู้ 5. พฤติกรรมเป็นผลมาจากการจูงใจ
DIVERSITY AND INDIVIDUAL DIFFERENCES ความหลากหลายและความแตกต่างระหว่างบุคคล
Workforce Diversity คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน สิ่งที่ท้าทายคือ จะจัดการอย่างไรกับความหลากหลายนี้ Demographic ความแตกต่างเช่น เพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ อายุ ความสามารถของร่างกาย
Diversity ความหลากหลาย Importance of Diversity- work force diversity Type of Diversity- Gender, Race and Ethnicity Social Identity Theory Age Disability Sexual Orientation
Personality Traits and Classifications The “Big Five” personality dimensions : มิติทางบุคลิกภาพ Extraversion : ความรู้สึกต่อสังคม Agreeableness : การยอมรับ Conscientiousness : ความมั่นคง Emotional stability : สภาพจิตใจ อารมณ์ Openness to experience : การเปิดรับสิ่งรอบตัว
Individual Differences, Values, and Diversity ความแตกต่างคุณค่า และความหลากหลาย ของบุคคล
Individual Differences เป็นแนวคิด และ แนวทางการคัดแยก เพื่อจับกลุ่ม บุคคล เข้าร่วมกันโดยการแบ่งแยกให้ จัดกลุ่มที่มี ความคิดคล้ายกัน ความรู้สึก และบุคลิกภาพ เข้าด้วยกัน การรับรู้ของแต่ละบุคคล – เป็นการรับรู้ที่สัมพันธ์ กับ บุคลิก ความรู้สึก นึกคิด ลักษณะเฉพาะ และอื่นๆ ที่มีของแต่ละบุคคล
The Whole Brain ซีกซ้าย – การจัดลำดับความสำคัญ ตรรกะ และ การประมวลผล ซีกขวา – การสั่งการ ใช้งานร่างกาย /
Value ค่านิยม เป็นความเชื่อ ความรู้สึก มีช่วงเวลาในการสั่งสมและยึดเป็นแนวทางในการใช้ชีวิต ค่านิยมเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม และเป็นตัวกำหนดว่าสิ่งนั้นดี ไม่ดี เกิดจากกลุ่มที่มีความเห็นคล้ายๆกัน ค่านิยมเป็นตัวตัดสินว่าการกระทำสิ่งใดที่สำคัญที่ควรทำหรือไม่ควรทำ อะไรถูก อะไรผิด อะไรดี เป็นดุลยพินิจส่วนบุคคล (Value Judgment) การกำหนดค่านิยมของตนเอง (value system) ความมีอิสระ เคารพตนเอง ความซื่อสัตย์ ความเชื่อฟัง ความเสมอภาค ค่านิยมจะมีอิทธิพลต่อ ทัศนคติ และเป็นผลต่อพฤติกรรม และมีอิทธิพลต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง ค่านิยมที่แตกต่างกัน
ค่านิยมเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม เป็นตัวกำหนดว่าสิ่งนั้นดี ไม่ดี Value ค่านิยม เป็นความเชื่อ ความรู้สึก มีช่วงเวลาในการสั่งสมและยึดเป็นแนวทางในการใช้ชีวิต ค่านิยมเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม เป็นตัวกำหนดว่าสิ่งนั้นดี ไม่ดี เกิดจากกลุ่มที่มีความเห็นคล้ายๆกัน ค่านิยมเป็นตัวตัดสินว่าการกระทำสิ่งใดที่สำคัญที่ควรทำหรือไม่ควรทำ อะไรถูก อะไรผิด อะไรดี
แหล่งที่มาของค่านิยม ค่านิยมเกิดจากการเรียนรู้ ได้จากสภาวะแวดล้อมที่เจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงในช่วงชีวิตของแต่ละคน วัฒนธรรม สังคม รูปแบบขององค์การ ครอบครัว เป็นค่านิยมพื้นฐานที่ปลูกฝังมา เกิดจากตนเอง ด้านความเชื่อ ความรู้สึกนึกคิด ค่านิยมอาจเหมือน หรือ คล้ายกับผู้อื่น หรือต่างจากผู้อื่นได้
Importance of value ความสำคัญของค่านิยมที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ค่านิยมพื้นฐาน ค่านิยมที่มีผลต่อการรับรู้ ( เป็นผลจากการรับรู้ถึงการแสดงออกเป็นที่ยอมรับและถูกใจผู้อื่น ) ค่านิยมมีผลต่อทัศนคติมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ค่านิยมเป็นกระบวนการทางความคิดเป็นตัวกำหนดตัดสินชี้นำให้บุคคลปฏิบัติ เป็นมาตราฐานชี้นำ เป็นตัวกระตุ้นเพื่อให้เกิดแรงจูงใจและช่วยเสริมทัศนคติ ความสนใจและความตั้งใจ
Values : ค่านิยม Values : ความชอบที่เกี่ยวข้องกับระเบียบแบบแผนที่เหมาะสมของการกระทำหรือผลลัพธ์ ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีของบุคคล Sources and Type of Values : แหล่งและประเภทของค่านิยม Patterns and Trends in Values : รูปแบบและแนวโน้มของค่านิยม
Aptitude and Ability Aptitude and Ability : ความถนัดและความสามารถ ความถนัด หรือความสามารถของบุคคลในการเรียนรู้ Ability ความสามารถที่จะปฏิบัติงานได้หลากหลาย รวมถึงความรู้และทักษะ
Type of value ประเภทของค่านิยม Milton Rokeach ผู้ให้แนวคิดของค่านิยม ประเภทของค่านิยม Termial value ค่านิยมที่จุดหมายปลายทาง Instrument value ค่านิยมที่เป็นเครื่องมือ
Termial value ค่านิยมที่จุดหมายปลายทาง Instrument value ค่านิยมที่เป็นเครื่องมือ Instrumental - values that represent the acceptable behaviors to be used in achieving some end state ค่านิยมที่เป็นเครื่องมือแสดงถึงการยอมรับในบางพฤติกรรม example = honestyความสื่อสัตย์, polite ความสุภาพ Terminal - values that represent the goals to be achieved, or the end states of existence ค่านิยมสุดท้าย Examples: happiness ความสุข, salvation ความช่วยเหลือให้พ้นภัย, prosperity ความเจริญรุ่งเรือง
Work Values Achievement (career advancement) ความสัมฤทธิ์ผล ความก้าวหน้าในงานอาชีพ Concern for others (compassionate behavior) ความเป็นห่วงผู้อื่น (ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น) Honesty (provision of accurate information) ความจริงใจ (ข้อกำหนดข้อมูลที่แม่นยำ) Fairness (impartiality) ยุติธรรมความไม่มีอคติ 16
Cultural Differences in Values Authority is a right of office and rank Decisions should be challenged France The Netherlands 17
จุดสำคัญของ Argyris และ Levinson คือ Personality จุดสำคัญของ Argyris และ Levinson คือ 1. การพัฒนาบุคลิกลักษณะจะทำนายได้ตามช่วง ระยะเวลา 2. การพัฒนาการเหล่านี้ต้องการการบริหารที่ต่างกัน
Big Five Framework Agreeableness โอนอ่อนผ่อนตาม Conscientiousness บุคคลิกที่มีความรอบคอบ Emotional Stability ความมั่นคงในอารมณ์ Extraversion เปิดเผย Openness to experience ใจกว้างพร้อมที่จะหาประสพการณ์
Classification Frameworks Nunnally’s Framework Social Trait คือ ลักษณะภายนอกที่สะท้อนออกมาในการโต้ตอบของแต่ละบุคคลที่แสดงต่อคนอื่น รูปแบบของการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐาน
Personality Argyris คนทั่วไปจะมีการพัฒนาการบุคลิกภาพอย่างต่อเนื่องไม่สิ้นสุด จากวัยที่ยังเติบโตไม่เต็มที่ จนถึงวัยผู้ใหญ่ แต่โดยธรรมชาติบุคลิกลักษณะของผู้ใหญ่ บางครั้งไม่แน่นอน ขึ้นกับโอกาสในการทำงานด้วย
cultural factors พัฒนาบุคลิกภาพและพฤติกรรม Personality สิ่งแวดล้อม cultural factors พัฒนาบุคลิกภาพและพฤติกรรม social factors ผลสะท้อนจากครอบครัว ศาสนา กลุ่มสังคม situation factors โอกาสในการตั้งเป้าหมาย
4. Social สนใจด้านผู้คน และความรัก มีมนุษยสัมพันธ์ Allport’s six value categories 1. theoretical ค้นหาความจริงโดยการใช้หลักการและเหตุผลในการตัดสินใจ 2. Economic สนใจด้านการทำงานและการฝึกฝน และการสะสมความมั่งคั่ง 3. Aesthetic สนใจด้านความงาม รูปร่าง และความกลมเกลียวทางศิลปะ 4. Social สนใจด้านผู้คน และความรัก มีมนุษยสัมพันธ์ 5. Political สนใจด้านอำนาจและอิทธิพลต่อบุคคลอื่น 6. Religious สนใจความเป็นหนึ่งเดียว
Meglio and associates value categories 1. Achievement ทำสิ่งต่างๆ อย่างหนักเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ 2. Helping and Concern for Others การกระทำที่คำนึงถึงผู้อื่นและช่วยเหลือผู้อื่น 3. Honesty พูดความจริงและทำในสิ่งที่คิดว่าถูกต้อง 4. Fairness การกระทำที่ไม่ลำเอียง และทำให้สิ่งต่างๆเกิดความยุติธรรม
Patterns and trends in Values ผู้บริหารสมัยใหม่ควรสนใจผลการวิจัยทางด้านแนว โน้มและค่านิยมที่ถูกปรับปรุงอยู่เสมอ และต้องสามารถรับรู้ถึงค่านิยมและแนวโน้มที่ต่างกันไปของคนที่ทำงาน
ทัศนคติได้รับอิทธิพลมาจากค่านิยม Values and Attitudes Attitudes ทัศนคติได้รับอิทธิพลมาจากค่านิยม เป็นการจูงใจให้มีการตอบสนองไปในทางบวกหรือทางลบต่อบางคนหรือบางสิ่งในสภาวะแวดล้อมนั้นๆ
A work-related example of the three components of attitudes Belief = ความเชื่อ Feeling= ความรู้สึก Intended behavior= พฤติกรรมซึ่งมีเจตนา
Attitudes and Behavior ผลของทัศนคติมีแนวโน้มกลายเป็นพฤติกรรม หรือ ไม่เป็นก็ได้ในภาวะแวดล้อมต่างๆ ผู้บริหารควรทำความเข้าใจกับสิ่งที่เป็นเหตุและผลที่คาด ว่าจะเกิดขึ้น
Attitudes and Cognitive Consistency cognitive dissonance อธิบายลักษณะที่ไม่สัมพันธ์ระหว่างทัศนคติส่วนตัวกับพฤติกรรมที่แสดงออกมา Festinger คาดการณ์ว่าความขัดแย้งนี้จะสร้างความลำบากและจะลดจะลงโดย เปลี่ยนทัศนคติ เปลี่ยนพฤติกรรมในอนาคต พัฒนาทางใหม่พัฒนาทางใหม่ที่จะสามารถอธิบายและให้เหตุผลในความขัดแย้งนี้ Dissonance ความไม่ลงรอยกัน สภาวะความไม่สอดคล้องกับระหว่างทัศนคติ หรือ ระหว่างทัศนคติกับพฤติกรรม Consistencyความยึดมั่น สอดคล้อง cognitive Attitude ทัศนคติของการรับรู้ ความเชื่อถือ ความคิดของบุคคล
Managing Diversity and Individual Difference ต้องไม่ลืมความเหมาะสมกันขององค์การ-งาน-บุคคล รวมถึงความเหมาะสมทางด้านความแตกต่างในบุคคลต่างๆ กับงานที่จะให้ไป ความแตกต่างของคนเป็นที่รวมตัวกันของ Aptitude ความถนัด , ลักษณะความสามารถ , องค์ประกอบส่วนตัว , ค่านิยมและทัศนคติ
Development Practices Recruitment Practices Values and Attitudes Ann Morrison แบ่งการปฏิบัติที่ต้องให้ความสนใจไว้ 3 ส่วนใหญ่ๆ Accountability Practices ภาระหน้าที่ การเสนอรายงานและการพร้อมที่จะให้ตรวจสอบ Development Practices Recruitment Practices Accountabillity ภาระหน้าที่ การเสนอรายงานและการพร้อมที่จะให้ตรวจสอบ ผู้ได้รับมอบอำนาจหน้าที่รับผิดชอบไป พรน้อมที่จะรายงาน
Workforce Diversity Workforce Diversity : ความหลากหลายของแรงงาน Equal Employment Opportunity : โอกาสเท่ากันในการจ้างงาน Managing Diversity : การจัดการความหลากหลาย Key Terms Workforce Diversity ลักษณะของแต่ละบุคคล ซึ่งทำให้บุคคลผู้นั้นต่างจากบุคคลอื่น Stereotyping การสรุปแบบเหมารวมโดยดูจากลักษณะร่วมของบุคคล Stereotype= มีทัศนคติตายตัวของกลุ่ม
Demographic Differences Gender : เพศ Age : อายุ Able-Bodied ness : ความสามารถทางร่างกาย เช่น ความพิการ Racial and Ethnic Groups : เชื้อชาติ Key Terms Demographic Characteristics ลักษณะทางประชากรศาสตร์
Personality Personality : บุคลิกภาพ Personality Determinants and Development : สิ่งที่กำหนดและพัฒนาบุคลิกภาพ Personality Environment Cultural Factors Social Factors Situation Factor Heredity Physical Characteristic Gender
Key Terms Personality บุคลิกภาพ Development Approaches แนวทางการพัฒนาบุคลิกภาพ ของ Chris Argyris และ Daniel Levinson : การพัฒนาบุคลิกภาพตามระยะเวลาอย่างเป็นระบบ จากวัยที่ยังไม่เติบโตเต็มที่จนถึงวัยผู้ใหญ่
Personality Traits and Classifications The “Big Five” personality dimensions : มิติทางบุคลิกภาพ Extraversion : ความรู้สึกต่อสังคม Agreeableness : การยอมรับ Conscientiousness : ความมั่นคง Emotional stability : สภาพจิตใจ อารมณ์ Openness to experience : การเปิดรับสิ่งรอบตัว
Personality Traits and Classifications Social Traits : ลักษณะนิสัยทางสังคม Personal Conception Traits : รูปแบบความยึดมั่นของบุคคล Emotional Adjustment Traits : การปรับตัวทางอารมณ์ Personality and Self-Concept : บุคลิกภาพและแนวคิดเกี่ยวกับตนเอง
Social Traits : ลักษณะนิสัยทางสังคม Information gathering : การรับและจัดระเบียบข้อมูลก่อนการนำไปใช้ Sensation-type Individual : ชอบงานซ้ำ ๆ Intuitive-type Individual : ชอบแก้ปัญหาใหม่ ๆ Evaluation : การจัดการ การประเมินข้อมูล Feeling-type : เน้นความรู้สึก Thinking-type : เน้นความคิด Problem-Solving Styles : รูปแบบการแก้ไขปัญหา 4 รูปแบบ
Personal Conception Traits : รูปแบบความยึดมั่นของบุคคล Locus of Control : ความเชื่ออำนาจภายใน/ภายนอกตนเอง Authoritarianism/Dogmatism : สิ่งที่ยึดมั่น/สิ่งที่ถูกต้อง Machiavellianism : การได้มาและรักษาไว้ซึ่งการควบคุมผู้อื่น Self-monitoring : ความสามารถที่จะปรับพฤติกรรมต่อปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
Locus of Control Locus of Control - personality variable that affects individual behavior Internal - belief in personal control and personal responsibility External - belief in control by outside forces (fate, chance, other people) 23
Personality Traits and Classifications The “Big Five” personality dimensions : มิติทางบุคลิกภาพ Extraversion : ความรู้สึกต่อสังคม Agreeableness : การยอมรับ Conscientiousness : ความมั่นคง Emotional stability : สภาพจิตใจ อารมณ์ Openness to experience : การเปิดรับสิ่งรอบตัว
Personality Traits and Classifications Social Traits : ลักษณะนิสัยทางสังคม Personal Conception Traits : รูปแบบความยึดมั่นของบุคคล Emotional Adjustment Traits : การปรับตัวทางอารมณ์ Personality and Self-Concept : บุคลิกภาพและแนวคิดเกี่ยวกับตนเอง
Social Traits : ลักษณะนิสัยทางสังคม Information gathering : การรับและจัดระเบียบข้อมูลก่อนการนำไปใช้ Sensation-type Individual : ชอบงานซ้ำ ๆ Intuitive-type Individual : ชอบแก้ปัญหาใหม่ ๆ Evaluation : การจัดการ การประเมินข้อมูล Feeling-type : เน้นความรู้สึก Thinking-type : เน้นความคิด Problem-Solving Styles : รูปแบบการแก้ไขปัญหา 4 รูปแบบ
Personal Conception Traits : รูปแบบความยึดมั่นของบุคคล Locus of Control : ความเชื่ออำนาจภายใน/ภายนอกตนเอง Authoritarianism/Dogmatism : สิ่งที่ยึดมั่น/สิ่งที่ถูกต้อง Machiavellianism : การได้มาและรักษาไว้ซึ่งการควบคุมผู้อื่น Self-monitoring : ความสามารถที่จะปรับพฤติกรรมต่อปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
Emotional Adjustment Traits : ความอดทนต่อความทุกข์ทางอารมณ์ Type A and B Orientation Type A Orientations Type B Orientations
Type A and B Orientation ชอบมาไม่ตรงเวลานัด 1 2 3 4 5 6 7 8 ไม่เคยสาย ไม่ชอบการแข่งขัน 1 2 3 4 5 6 7 8 ชอบการแข่งขัน ไม่เคยรู้สึกเร่งรีบ 1 2 3 4 5 6 7 8 รู้สึกเร่งรีบบ่อย ๆ ทำเพียงสิ่งหนึ่งในเวลาเดียว 1 2 3 4 5 6 7 8 ทำหลาย ๆ สิ่งในเวลาเดียว ทำสิ่งต่าง ๆ อย่างช้า ๆ 1 2 3 4 5 6 7 8 ทำสิ่งต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ชอบแสดงความรู้สึก 1 2 3 4 5 6 7 8 ชอบควบคุมความรู้สึก สนใจภายนอกมาก 1 2 3 4 5 6 7 8 สนใจภายนอกเล็กน้อย
รวมคะแนนทั้งหมดแล้วคูณด้วย 3 จะเป็นคะแนนสุดท้าย A/B Orientation ต่ำกว่า 90 B 90-99 B+ 100-105 A- 106-119 A 120 ขึ้นไป A+
Personality and Self-Concept : บุคลิกภาพและแนวคิดเกี่ยวกับตนเอง Self-esteem : ความเชื่อเกี่ยวกับคุณค่าของตนเอง (การประเมินตนเอง) Self-efficacy [“effectance motives”] : ความเชื่อว่าจะประสบความสำเร็จในงานที่ตนทำ
Social Traits ลักษณะนิสัยที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบของบุคคลที่ปรากฏต่อบุคคลอื่นเมื่อมีปฎิสัมพันธ์ Authoritarianism ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการยึดมั่นในความเชื่อของบุคคล ยึดมั่นต่อค่านิยมตามประเพณีนิยมและเชื่อฟังต่ออำนาจที่เป็นที่ยอมรับมีความสนใจในอำนาจ
Key Terms (2) Dogmatism ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการยึดมั่นในความเชื่อของบุคคล โดยจะสนใจในอำนาจที่ถูกต้องสมควร (Legitimate Authority) Self-Monitoring ความสามารถที่จะปรับพฤติกรรมของตนเองต่อปัจจัยภายนอก โดยจะไวต่อสิ่งกระตุ้นและแสดงพฤติกรรมที่แตกต่างจากตัวตนที่แท้จริง
Key Terms (3) Personality Dynamics แนวคิดส่วนบุคคลและการปรับตัวทางอารมณ์ Self Concept ทรรศนะที่บุคคลมีต่อตนเองโดยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมรอบตัว
Values and Attitudes Values and Attitudes : ค่านิยมและทัศนคติ
2 .สภาพแวดล้อม (Environment) บุคลิกภาพ (Personality) ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดบุคลิกภาพและการพัฒนาบุคลิกภาพ Personality determinants and development 2 .สภาพแวดล้อม (Environment) 2.1 ปัจจัยด้านฒนธรรม 2.2 ปัจจัยด้านสังคม 2.3 ปัจจัยด้านสถานการณ์ 1 . พันธุกรรม (Heredity) 1.1 ลักษณะทางกายภาพ 1.2 ลักษณะทางสติปัญญา 1.3 โรคบางชนิด 1.4 เพศ บุคลิกภาพ (Personality)
บุคลิกภาพของบุคคล บุคลิกภาพของบุคคลสามารถแสดงให้เห็นได้ใน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะบุคลิกภาพที่ไม่สามารถควบคุมได้ ลักษณะที่ตกทอดมา รูปร่างลักษณะ การอบรมเลี้ยงดูตอนเด็ก ลักษณะบุคลิกภาพที่สามารถควบคุมได้ ลักษณะท่าทาง การพูด,การเจรจา พฤติกรรม,การกระทำ การแต่งตัว
ในความหมายของ คาร์ล จี จุง (Carl,G,Jung) บุลคิกภาพ ในความหมายของ คาร์ล จี จุง (Carl,G,Jung) ประเภทชอบสังคมหรือชอบแสดงตน มักจะคล่องแคล่วว่องไว ไม่ชอบอยู่นิ่ง ชอบเด่น และเป็นตัวของตัวเอง ประเภทชอบเก็บตัว จะเป็นคนเก็บตัว ไม่ชอบแสดงตน ชอบอยู่คนเดียว ทำงาน คนเดียว คิดมาก รับไม่ได้ถ้าหากถูกวิจารณ์
การรับรู้ที่แตกต่างกัน Perception & Attribution การรับรู้ที่แตกต่างกัน กระบวนการรับรู้คืออะไร ? การรับรู้ที่บิดเบือนคืออะไร ? จะมีการจัดระบบการรับรู้ได้อย่างไร ?
Personality classification framework ส่วนประกอบด้านการับรู้ (Cognitive component) ของทัศนคติ : ความเชื่อ มุมมอง ความรู้สึก ข้อมูลที่ได้รับ
Perception & Attribution ความหมายของการรับรู้ การรับรู้เป็นกระบวนการที่บุคคล เลือก จัดรูปแบบข้อมูล ตีความหมาย การได้กลับมาของข้อมูล และตอบสนองต่อข้อมูลในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
มุมมองที่แตกต่าง
เก็บรายละเอียดจากการรับรู้ต่างกัน มองภาพรวม มองทีละจุด
ท่านคิดว่าภาพนี้เป็นภาพอะไร
Motivation Theories Achievement requires effort
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจ ความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การจดจำและเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ หรือมีประสบการณ์ในสิ่งนั้นๆ
Perception & Attribution ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการรับรู้ Perceived การตัดกัน การแยกภาพพื้น ความเข้ม ขนาด การเคลื่อนไหว การทำซ้ำ/ความใหม่ Perceiver ประสบการณ์ ความต้องการ ค่านิยม ทัศนคติ Setting ทางกายภาพ สังคม องค์การ
Perception & Attribution การเคลื่อนไหว
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ของSigmound Freud ซิกมันส์ ฟรอยด์ -ทฤษฎีลักษณะนิสัย :เป็นเสมือนแนวโน้มที่บอกถึงการประพฤติ ปฎิบัติเป็นเอกลักษณ์แต่ละบุคคล เปิดเผยจู้จี้ ขี้บ่น เก็บตัว -ทฤษฎีวิจารณ์ :พฤติกรรมบุคคลมาจากพื้นฐาน แรงขับที่แตกต่างกัน ID = :การแสดงออกในรูปที่ไร้เหตุผลเป็นตัวกระตุ้น (จิตไร้สำนึก) โดยไม่มีการพิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่ต้องการและ อะไรคือสิ่งที่เป็นไปได้ อะไรเป็นที่ยอมรับของสังคม Superego = ส่วนรวมของค่านิยมบุคคล โดยนำศีลธรรมมาเป็นสิ่ง สำคัญทางจิตสำนึก ปกติ Id. กับ Superego จะขัดกัน Ego = อยู่ระหว่างความขัดแย้งและมีบทบาทเกี่ยวกับความ มั่นใจมากที่สุด จะแสดงออกในรูปสติและปัญญา และเหตุผลมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับหลักความจริง
ลักษณะภาวะผู้นำ มองการณ์ไกล รับรู้ข้อมูลข่าวสาร มีความคิดริเริ่ม การตัดสินใจที่ถูกต้อง มีวิสัยทัศน์ รอบรู้ในภาระกิจ หน้าที่ในการบริหารและการตัดสินใจ มองการณ์ไกล รับรู้ข้อมูลข่าวสาร รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น เปิดใจกว้าง มีปิยะวาจา มีเทคนิคการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ มีใจรักงาน อดทนต่องานและปัญหา
สั่งงานใครสั่งอะไรสั่งให้แน่สั่งแล้วแก้สั่งสับสนจนเวียนหัว สั่งกันมากยากจะสั่งซ้ำขุ่นมัวสั่งกันมั่วแย่งกันสั่งพังทุกที พูดออกไปเขาไม่รู้อย่าขู่เขาว่าโง่เง่างมเงอะเซอะหนักหนา ตัวของตัวทำไมไม่โกรธาว่าพูดจาให้เขาไม่เข้าใจ ฟังอะไรฟังให้ชัดถนัดหูฟังให้รู้ฟังให้เป็นเน้นความหมาย ฟังให้ถูกฟังก่อนตอบจนแยบคายฟังด้วยใจซึ้งถึงกันนั้นฟังดี ฟังอะไรใคร่ครวญคิดด้วยจิตว่างฟังทุกอย่างฟังทุกตอนจนถ้วนถี่ ฟังแล้วท้วงติชมเพื่อเกื้อวจีฟังเช่นนี้ล้วนเลอเลิศเกิดปัญญา ของ “ อาจารย์อัญชลี แจ่มเจริญ” จิตวิทยาองค์การ
การจูงใจในการทำงาน การชักนำโน้มน้าบุคคลให้มีทัศนคติหรือพฤติกรรมไปในทิศทางที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ การจูงใจเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหาร
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ Abraham Maslow กล่าวว่า การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์นั้นเกิดจากความต้องการบางอย่าง และจะเกิดความพึงพอใจเมื่อได้รับการตอบสนอง เขาเชื่อว่าความต้องการของมนุษย์นั้นสามารถจัดเป็นลำดับขั้นได้ความต้องการแต่ละขึ้นอาจเหลื่อมกันได้บ้าง ลำดับขั้นความต้องการ
ของลำดับขั้นความต้องการ ทฤษฎีการจูงใจของ Maslow 5. ความต้องการสำเร็จในชีวิต 4. ความต้องการการยกย่อง มอบรางวัลให้กับพนักงานที่ทำงานประสบความสำเร็จ ให้ในสิ่งที่ต้องการ โดยดูความเหมาะสม ของลำดับขั้นความต้องการ 3. ความต้องการความผูกพันธ์ ปฏิบัติกับพนักงานทุกคนด้วยความเสมอภาค 2. ความต้องการความมั่นคงหรือความปลอดภัย สวัสดิการ เช่น การประกันชีวิต การประกันสังคม 1.ความต้องการทางร่างกาย จ่ายผลตอบแทนในรูปของตัวเงินให้เพียงพอเหมาะสมกับตำแหน่งภาระหน้าที่
ทฤษฎี X,Y ทฤษฎี X ทฤษฎี Y คนชอบทำงาน ได้รับความพึงพอใจในการ คนสามารถจูงใจและ ควบคุมตนเองสำหรับ กิจกรรมประเภทต่างๆ ได้ดี จะให้ผู้ใต้บังคับบัญชามี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ ทฤษฎี X คนโดยทั่วไปไม่ชอบทำงาน หลีกเลี่ยงงาน ต้องดูแลกำกับพนักงาน อย่างระมัดระวัง มีระบบควบคุมที่เข้มงวด การบริหารโดยเผด็จการ คนเปรียบเสมือนเครื่องจักร ใ ช้เงินเป็นสิ่งจูงใจ
เรื่อง พนักงานหลีกเลี่ยงภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เรื่อง พนักงานหลีกเลี่ยงภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
การวิเคราะห์ปัญหา พนักงานหลีกเลี่ยง ภาระหน้าที่ ปัจจัยภายนอก ปัญหา ขาด 1. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ 2. ระดับรายได้ลดลง ไม่พอกับรายจ่ายรายได้ของธุรกิจลดลง 3.การปรับวิธีบริหารให้ทันกับเทคโนโลยี จำเป็นต้องลดพนักงาน ขาด 1. นโยบายที่ชัดเจนจากฝ่ายบริหาร 2.วัฒนธรรมการทำงานในองค์กร 3. ขาดระบบการประเมินผลงานที่ดี 4. รับภาระมากเกินไป,ไม่ขึ้นเงินเดือน 5. ขาดแรงจูงใจ ฯลฯ พนักงานหลีกเลี่ยง ภาระหน้าที่ ปัจจัยภายใน
ทฤษฎี 2 ปัจจัยของ Herzberg แนวทางการแก้ไข คำนึงความต้องการ ทฤษฎี 2 ปัจจัยของ Herzberg ทฤษฎี X,Y ทฤษฎี Maslow
ผู้นำ คือ ผู้ที่มีอำนาจ บุคลิกภาพ คงวามสามารถ และเป็นศูนย์กลางของ ภาวะผู้นำ ผู้นำ คือ ผู้ที่มีอำนาจ บุคลิกภาพ คงวามสามารถ และเป็นศูนย์กลางของ กลุ่มผู้นำในองค์การมีหลายระดับ บทบาทจะแตกต่างกันตามอำนาจในหน้าที่หรือ รูปแบบภาวะผู้นำ รูปแบบของการจูงใจ (Motivational Styles) เป็นลักษณะ Positive Leadership หรือ Negative Leadership แบ่งได้ดังนี้ 1. แบบอัตตาธิปไตย (Autocratic) 2. แบบร่วมมือกัน (Participation) 3. ปล่อยตามสบาย (Free-rein)
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการวัดประสิทธิผล ต้องวัดกันที่การบรรลุเป้าหมาย การวัดประสิทธิผลขององค์กร หมายถึง การตรวจสอบผลการดำเนินงาน โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ต้องวัดกันที่การบรรลุเป้าหมาย PROCESS เข้าเป้าหรือไม่?
การศึกษาด้านการสื่อข้อความในองค์การ
สั่งงานใครสั่งอะไรสั่งให้แน่สั่งแล้วแก้สั่งสับสนจนเวียนหัว สั่งกันมากยากจะสั่งซ้ำขุ่นมัวสั่งกันมั่วแย่งกันสั่งพังทุกที พูดออกไปเขาไม่รู้อย่าขู่เขาว่าโง่เง่างมเงอะเซอะหนักหนา ตัวของตัวทำไมไม่โกรธาว่าพูดจาให้เขาไม่เข้าใจ ฟังอะไรฟังให้ชัดถนัดหูฟังให้รู้ฟังให้เป็นเน้นความหมาย ฟังให้ถูกฟังก่อนตอบจนแยบคายฟังด้วยใจซึ้งถึงกันนั้นฟังดี ฟังอะไรใคร่ครวญคิดด้วยจิตว่างฟังทุกอย่างฟังทุกตอนจนถ้วนถี่ ฟังแล้วท้วงติชมเพื่อเกื้อวจีฟังเช่นนี้ล้วนเลอเลิศเกิดปัญญา ของ “ อาจารย์อัญชลี แจ่มเจริญ” จิตวิทยาองค์การ
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ Balanced Scorecard การเงิน ลูกค้า กระบวน การปฏิบัติงานภายใน การเรียนรู้และการเติบโต การวัด ประสิทธิผลขององค์กร
เม็ดทรายนับไม่ถ้วนจำนวนทราย คนทั้งหลายนับไม่ถ้วนในคุณค่า ทรายจะแกร่งก็เพราะผ่านกาลเวลา คนจะกล้าก็เพราะผ่านการอดทน แต่ถ้าเราแบมือวางอยู่อย่างนี้ โลกหมุนไปทุกที่แหละทุกหน แต่ถ้าเรา กำหมัดในบัดดล นี่แหละคนผู้ค้นคิดพิชิตงาน ของ คุณวีระ ศรีวิลาศ บันไดสู่นักบริหาร
หากท่านมีปัญหากับเพื่อนร่วมงานในเรื่องของงาน ท่านจะนำความรู้ด้านมนุษยสัมพันธ์แก้ปัญหาระหว่างท่านกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างไร
แนวคิดในการสร้างวัฒนธรรมใหม่ วิสัยทัศน์ วิเคราะห์หากลยุทธ ทบทวนวัฒนธรรม ค้นหานิสัยที่สอด คล้องกับกลยุทธ ปฏิบัติ ประเมินระดับนิสัยว่าใช้ได้ ประเมินผลกระทบของ นิสัยต่อความสำเร็จ ขององค์กรมากน้อยเพียงไร ประเมินระดับความรุนแรง กระบวนการปรับ เปลี่ยนวัฒนธรรม สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ 17 มีนาคม 2547 กำหนดนิสัย จำนวนคน ในแต่ละสถานที่ 96
การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดนอกกรอบ เมื่อไร อย่างไร ความสำเร็จ ตัวอย่าง
ต้องปรับปรุง/พัฒนา/เปลี่ยนแปลง วิถีชีวิตขององค์กร ผู้บริหารเริ่มกระจายอำนาจ คิดพัฒนาองค์กร เปลี่ยนแปลงเพื่อความอยู่รอด เติบโตเต็มที่ เจริญเติบโต ฟื้นตัว เสื่อม อยู่รอดแล้ว มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารเป็นผู้นำ ตกต่ำ เกิด ต้องปรับปรุง/พัฒนา/เปลี่ยนแปลง
งานประจำที่ดำเนินการเป็นปกติ กรอบการคิด งานใหม่ การพัฒนางานประจำ งานประจำที่ดำเนินการเป็นปกติ กลยุทธ์
7-Stage of the Creative Process: BASIC MODEL Identity รูปลักษณ์เฉพาะตัว Using นำไปใช้ Vision วิสัยทัศน์ Building ลงมือทำด้วยความคิดริเริ่ม Intent เจตจำนงมุ่งหมาย Engineering คิดสร้างคิดทำ (และเป็นไปได้) Nothing can be engineered without being built. Insight. มองเห็นด้วยตาใน *ปัญญาผุด* Modeling Language Spotlight 7-Stage of the Creative Process December 18, 1996
THE END