พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
ความเค้นและความเครียด
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ไฟฟ้า.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Watt Meter.
ตารางธาตุ.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ

พันธะเคมี “แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมกับอะตอมภายในโมเลกุลเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมที่ทำให้เกิดโมเลกุลของสาร” กฎออกเตด ( Octet rule ) “ก๊าซเฉื่อยเป็นธาตุที่เสถียรมาก จากการศึกษาโครงสร้างอะตอมพบว่ามีการจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกสุดเหมือนกันคือมี 8 อิเล็กตรอน (ยกเว้น He มี 2 อิเล็กตรอน)” He = 2 Ne = 2, 8 Ar = 2, 8, 8 Kr = 2, 8, 18, 8 “ธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่ครบ 8 ในธรรมชาติจะไม่สามารถอยู่เป็นอะตอมเดี่ยวๆได้ ซึ่งแสดงว่าไม่เสถียรการที่อะตอมของธาตุต่างๆ รวมตัวกันด้วยสัดส่วนที่ทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 นี้ นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งเป็นกฎขึ้นเรียกว่า กฎออกเตด”

แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม 1. พันธะไอออนิก พันธะเคมี (chemical bond) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม เกิดเป็นโมเลกุล เกิดจาก ทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ตามกฎออกเตต หลักการ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะ แบ่งเป็น

แรงดึงดูดประจุไฟฟ้าเกิดเป็น 1. พันธะไอออนิก 1 โลหะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมของโลหะกับอโลหะ อโลหะ 2 อโลหะรับเวเลนซ์อิเล็กตรอน จากโลหะ เกิดเป็น พันธะไอออนิก (ionic bond) โลหะ e– อโลหะ 3 อะตอมที่สร้างพันธะ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ตัว + โลหะ – อโลหะ e– = 8 4 แรงดึงดูดประจุไฟฟ้าเกิดเป็น สารประกอบไอออนิก + โลหะ – อโลหะ

พันธะไอออนิก (Ionic bond) “แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่า EN ต่างกันมากและอยู่ในสภาพที่เป็นไอออนบวกและไอออนลบ อะตอมที่มีค่า EN น้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่า EN มาก ทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule ) โดยทั่วไปแล้วพันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างโลหะและอโลหะ”

สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. พันธะไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง m.p. b.p. + – ยึดเหนี่ยวด้วยแรงดึงดูดทางไฟฟ้า H2O   บางชนิดละลายในน้ำได้ บางชนิดไม่ละลายในน้ำ เปราะ แตกง่าย นำไฟฟ้าในสถานะของเหลว l

สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. พันธะไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก ผลึกแตกออกจากกัน ผลึกไอออนก่อนถูกทุบ หลังถูกทุบไอออนเกิดการ เลื่อนไถลทำให้ไอออนที่มี ประจุเหมือนกันอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออน

พันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) 2. พันธะโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมของอโลหะกับอโลหะ อโลหะ 1 ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดเป็น พันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) อโลหะ e– 2 อะตอมที่สร้างพันธะ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัว อโลหะ e– = 8 3 เกิดเป็น สารโคเวเลนต์ อโลหะ e– 4

พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) การเขียนสูตรโครงสร้างแสดงพันธะโคเวเลนต์ สูตรโครงสร้างแบบจุด คือสูตรโครงสร้างที่แสดงถึงจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมนั้น เมื่อเกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนให้ครบตามกฏออกเตต โดยใช้จุด (•) แทนอิเล็กตรอน 1 ตัว สูตรโครงสร้างแบบเส้น คือสูตรโครงสร้างที่แสดงถึงพันธะเคมีในสารประกอบนั้นว่าพันธะใดบ้าง โดยใช้เส้น (—) แทนพันธะเคมี เส้น 1 เส้น แทนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 1 คู่ และเขียนเฉพาะพันธะที่เกิดขึ้นเท่านั้น

การเกิดพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ 2. พันธะโคเวเลนต์ การเกิดพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ

2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ 2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 1 1 การเกิดพันธะเดี่ยวในโมเลกุลของน้ำ

2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ 2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 2 การเกิดพันธะคู่ในโมเลกุลของออกซิเจน

2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ 2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 1 3 1 การเกิดพันธะสามในโมเลกุลของอะเซทิลีน

ตัวอย่างการเขียนโครงสร้างแบบจุดและแบบเส้นของพันธะโคเวเลนต์ แสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบจุดของธาตุตัวอย่าง ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม

สมบัติของสารโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ สมบัติของสารโคเวเลนต์ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ m.p. b.p. พบได้ทั้ง 3 สถานะ g S l ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน อโลหะ e– ไม่นำไฟฟ้า

สารโครงผลึกร่างตาข่าย 2. พันธะโคเวเลนต์ สารโครงผลึกร่างตาข่าย อะตอมยึดเหนี่ยวเป็น 3 มิติ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง m.p. b.p. H2O  โมเลกุลมีขนาดใหญ่ จึงไม่ละลายในน้ำ S พบในสถานะของแข็ง

เรื่องน่ารู้ : ความเหมือนที่แตกต่าง 2. พันธะโคเวเลนต์ เรื่องน่ารู้ : ความเหมือนที่แตกต่าง เพชร แกรไฟต์ C = ความแข็งแรง >

พันธะเคมี สรุป สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ เรียนรู้เกี่ยวกับ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกของโลหะกับไอออนลบของอโลหะ เกิดจาก แรงยึดเหนี่ยวระหว่างการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอมของอโลหะ เกิดจาก สารประกอบไอออนิก เรียกว่า สารโคเวเลนต์ เรียกว่า จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง นำไฟฟ้าในสถานะของเหลว เปราะ ทุบให้แตกง่าย มีสมบัติ จุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ พบได้ทั้ง 3 สถานะ ไม่นำไฟฟ้า มีสมบัติ

พันธะโลหะ(Metallic bond) “โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซซันที่ต่ำหรือ EN ต่ำดังนั้นจึงยึดอิเล็กตรอนวงนอกสุดไว้อย่างหลวม ๆ ทำให้อิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปมารอบๆโลหะตลอดเวลาเหมือนกับว่าไม่ได้เป็นอิเล็กตรอนของอะตอมตัวใดตัวหนึ่งแต่เป็นเสมือนกับว่าเป็นของอะตอมทุกตัว ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้ทำหน้าที่คล้ายซีเมนต์ ที่ช่วยยึดไอออนของโลหะที่มีประจุบวกให้อยู่ในตำแหน่งที่คงที่พันธะนี้เกิดกับธาตุที่เป็นโลหะด้วยกัน ”

สมบัติของโลหะ 1.เป็นตัวนำไฟฟ้าได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปได้ง่ายทั่วทั้งก้อนของโลหะแต่โลหะนำไฟฟ้าได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากไอออนบวกมีการสั่นสะเทือนด้วยความถี่และช่วงกว้างที่สูงขึ้นทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไม่สะดวก 2.โลหะนำความร้อนได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้ โดยอิเล็กตรอนซึ่งอยู่ตรงตำแหน่งที่มีอุณหภูมิสูง จะมีพลังงานจลน์สูง และอิเล็กตรอนที่มีพลังงานจลน์สูงจะเคลื่อนที่ไปยังส่วนอื่นของโลหะจึงสามารถถ่ายเทความร้อนให้แก่ส่วนอื่น ๆ ของแท่งโลหะที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าได้ 3.โลหะตีแผ่เป็นแผ่นหรือดึงออกเป็นเส้นได้ เพราะไอออนบวกแต่ละไอออนอยู่ในสภาพเหมือนกัน ๆ กันและได้รับแรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากันทั้งแท่งโลหะไอออนบวกจึงเลื่อนไถลผ่านกันได้โดยไม่หลุดจากกันเพราะมีกลุ่มของอิเล็กตรอนทำหน้าที่คอยยึดไอออนบวกเหล่านี้ไว้

4.โลหะมีผิวเป็นมันวาว เพราะกลุ่มของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้โดยอิสระจะรับและกระจายแสงออกมา จึงทำให้โลหะสามารถสะท้อนแสงซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 5.โลหะมีจุดหลอมเหลวสูง เพราะพันธะในโลหะเป็นพันธะที่เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างวาเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดในก้อนโลหะกับไอออนบวกจึงเป็นพันธะที่แข็งแรงมาก