พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ
พันธะเคมี “แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมกับอะตอมภายในโมเลกุลเป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมที่ทำให้เกิดโมเลกุลของสาร” กฎออกเตด ( Octet rule ) “ก๊าซเฉื่อยเป็นธาตุที่เสถียรมาก จากการศึกษาโครงสร้างอะตอมพบว่ามีการจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกสุดเหมือนกันคือมี 8 อิเล็กตรอน (ยกเว้น He มี 2 อิเล็กตรอน)” He = 2 Ne = 2, 8 Ar = 2, 8, 8 Kr = 2, 8, 18, 8 “ธาตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่ครบ 8 ในธรรมชาติจะไม่สามารถอยู่เป็นอะตอมเดี่ยวๆได้ ซึ่งแสดงว่าไม่เสถียรการที่อะตอมของธาตุต่างๆ รวมตัวกันด้วยสัดส่วนที่ทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 นี้ นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งเป็นกฎขึ้นเรียกว่า กฎออกเตด”
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม 1. พันธะไอออนิก พันธะเคมี (chemical bond) แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม เกิดเป็นโมเลกุล เกิดจาก ทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ตามกฎออกเตต หลักการ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโลหะ แบ่งเป็น
แรงดึงดูดประจุไฟฟ้าเกิดเป็น 1. พันธะไอออนิก 1 โลหะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมของโลหะกับอโลหะ อโลหะ 2 อโลหะรับเวเลนซ์อิเล็กตรอน จากโลหะ เกิดเป็น พันธะไอออนิก (ionic bond) โลหะ e– อโลหะ 3 อะตอมที่สร้างพันธะ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ตัว + โลหะ – อโลหะ e– = 8 4 แรงดึงดูดประจุไฟฟ้าเกิดเป็น สารประกอบไอออนิก + โลหะ – อโลหะ
พันธะไอออนิก (Ionic bond) “แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดระหว่าง 2 อะตอมอะตอมที่มีค่า EN ต่างกันมากและอยู่ในสภาพที่เป็นไอออนบวกและไอออนลบ อะตอมที่มีค่า EN น้อยจะให้อิเลคตรอนแก่อะตอมที่มีค่า EN มาก ทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ อะตอมครบ 8 (octat rule ) โดยทั่วไปแล้วพันธะไอออนิกเป็นพันธะที่เกิดขึ้นระหว่างโลหะและอโลหะ”
สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. พันธะไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง m.p. b.p. + – ยึดเหนี่ยวด้วยแรงดึงดูดทางไฟฟ้า H2O บางชนิดละลายในน้ำได้ บางชนิดไม่ละลายในน้ำ เปราะ แตกง่าย นำไฟฟ้าในสถานะของเหลว l
สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. พันธะไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก ผลึกแตกออกจากกัน ผลึกไอออนก่อนถูกทุบ หลังถูกทุบไอออนเกิดการ เลื่อนไถลทำให้ไอออนที่มี ประจุเหมือนกันอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออน
พันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) 2. พันธะโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อะตอมของอโลหะกับอโลหะ อโลหะ 1 ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดเป็น พันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) อโลหะ e– 2 อะตอมที่สร้างพันธะ มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 8 ตัว อโลหะ e– = 8 3 เกิดเป็น สารโคเวเลนต์ อโลหะ e– 4
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) การเขียนสูตรโครงสร้างแสดงพันธะโคเวเลนต์ สูตรโครงสร้างแบบจุด คือสูตรโครงสร้างที่แสดงถึงจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมนั้น เมื่อเกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนให้ครบตามกฏออกเตต โดยใช้จุด (•) แทนอิเล็กตรอน 1 ตัว สูตรโครงสร้างแบบเส้น คือสูตรโครงสร้างที่แสดงถึงพันธะเคมีในสารประกอบนั้นว่าพันธะใดบ้าง โดยใช้เส้น (—) แทนพันธะเคมี เส้น 1 เส้น แทนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 1 คู่ และเขียนเฉพาะพันธะที่เกิดขึ้นเท่านั้น
การเกิดพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ 2. พันธะโคเวเลนต์ การเกิดพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ
2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ 2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 1 1 การเกิดพันธะเดี่ยวในโมเลกุลของน้ำ
2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ 2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 2 การเกิดพันธะคู่ในโมเลกุลของออกซิเจน
2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ 2.1 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม 1 3 1 การเกิดพันธะสามในโมเลกุลของอะเซทิลีน
ตัวอย่างการเขียนโครงสร้างแบบจุดและแบบเส้นของพันธะโคเวเลนต์ แสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบจุดของธาตุตัวอย่าง ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม
สมบัติของสารโคเวเลนต์ 2. พันธะโคเวเลนต์ สมบัติของสารโคเวเลนต์ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ m.p. b.p. พบได้ทั้ง 3 สถานะ g S l ใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน อโลหะ e– ไม่นำไฟฟ้า
สารโครงผลึกร่างตาข่าย 2. พันธะโคเวเลนต์ สารโครงผลึกร่างตาข่าย อะตอมยึดเหนี่ยวเป็น 3 มิติ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง m.p. b.p. H2O โมเลกุลมีขนาดใหญ่ จึงไม่ละลายในน้ำ S พบในสถานะของแข็ง
เรื่องน่ารู้ : ความเหมือนที่แตกต่าง 2. พันธะโคเวเลนต์ เรื่องน่ารู้ : ความเหมือนที่แตกต่าง เพชร แกรไฟต์ C = ความแข็งแรง >
พันธะเคมี สรุป สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ เรียนรู้เกี่ยวกับ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกของโลหะกับไอออนลบของอโลหะ เกิดจาก แรงยึดเหนี่ยวระหว่างการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันของอะตอมของอโลหะ เกิดจาก สารประกอบไอออนิก เรียกว่า สารโคเวเลนต์ เรียกว่า จุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง นำไฟฟ้าในสถานะของเหลว เปราะ ทุบให้แตกง่าย มีสมบัติ จุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ พบได้ทั้ง 3 สถานะ ไม่นำไฟฟ้า มีสมบัติ
พันธะโลหะ(Metallic bond) “โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซซันที่ต่ำหรือ EN ต่ำดังนั้นจึงยึดอิเล็กตรอนวงนอกสุดไว้อย่างหลวม ๆ ทำให้อิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปมารอบๆโลหะตลอดเวลาเหมือนกับว่าไม่ได้เป็นอิเล็กตรอนของอะตอมตัวใดตัวหนึ่งแต่เป็นเสมือนกับว่าเป็นของอะตอมทุกตัว ซึ่งอิเล็กตรอนเหล่านี้ทำหน้าที่คล้ายซีเมนต์ ที่ช่วยยึดไอออนของโลหะที่มีประจุบวกให้อยู่ในตำแหน่งที่คงที่พันธะนี้เกิดกับธาตุที่เป็นโลหะด้วยกัน ”
สมบัติของโลหะ 1.เป็นตัวนำไฟฟ้าได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปได้ง่ายทั่วทั้งก้อนของโลหะแต่โลหะนำไฟฟ้าได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากไอออนบวกมีการสั่นสะเทือนด้วยความถี่และช่วงกว้างที่สูงขึ้นทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไม่สะดวก 2.โลหะนำความร้อนได้ดี เพราะมีอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้ โดยอิเล็กตรอนซึ่งอยู่ตรงตำแหน่งที่มีอุณหภูมิสูง จะมีพลังงานจลน์สูง และอิเล็กตรอนที่มีพลังงานจลน์สูงจะเคลื่อนที่ไปยังส่วนอื่นของโลหะจึงสามารถถ่ายเทความร้อนให้แก่ส่วนอื่น ๆ ของแท่งโลหะที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าได้ 3.โลหะตีแผ่เป็นแผ่นหรือดึงออกเป็นเส้นได้ เพราะไอออนบวกแต่ละไอออนอยู่ในสภาพเหมือนกัน ๆ กันและได้รับแรงดึงดูดจากประจุลบเท่ากันทั้งแท่งโลหะไอออนบวกจึงเลื่อนไถลผ่านกันได้โดยไม่หลุดจากกันเพราะมีกลุ่มของอิเล็กตรอนทำหน้าที่คอยยึดไอออนบวกเหล่านี้ไว้
4.โลหะมีผิวเป็นมันวาว เพราะกลุ่มของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้โดยอิสระจะรับและกระจายแสงออกมา จึงทำให้โลหะสามารถสะท้อนแสงซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 5.โลหะมีจุดหลอมเหลวสูง เพราะพันธะในโลหะเป็นพันธะที่เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างวาเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดในก้อนโลหะกับไอออนบวกจึงเป็นพันธะที่แข็งแรงมาก