The Child with Renal Dysfunction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าปรกติของห้องปฏิบัติการ
Advertisements

การรักษาโรคระบบทางเดินปัสสาวะ
Interhospital conference 8 กุมภาพันธ์ 2554
Inter-hospital Conference 20 March 2012
ACE inhibitor : Long-term treatment
Early Detection & Prevention of Chronic Kidney Disease
Systemic Lupus Erythmatosus
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
Chronic kidney disease Burden,impact,prevention
Vilasinee Hirunpanich B. Pharm(Hon), MSc in Pharm (Pharmacology)
Systemic Lupus Erythmatosus
STROKE ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ประเสริฐ บุญเกิด
Adrenal Insufficiency and adrenal crisis
ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
Conference Case 1.
Role of nursing care in sepsis
Thalassemia Sudawadee Ekwitayawechnukul, MD. Thalassemia Treatment Complication of thalassemia Complication of secondary hemochromatosis Iron chelation.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
พญ.ศิริจิตต์ วาสนะวัฒน
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ในภาวะฉุกเฉินและเรื้อรัง
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ
Biochemistry of urine Dr. Pichapat Piamrojanaphat
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
อาจารย์พูลทรัพย์ ลาภเจียม
Intern Kittipos Wongnisanatakul
การอบรมการใช้ยา HAD.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Essential nutrition in ICU
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
Facilitator: Pawin Puapornpong
BONE INFECTION (osteomyelitis)
Fluid management in surgical patients: Current controversies.
The Child with Respiratory dysfunctionII
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
Facilitator: Pawin Puapornpong
วิชาการผลิตสุกร ระดับปวส.
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
Service Plan in Kidney Disease
โรคจากการประกอบอาชีพ
The Child with Renal Dysfunction
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Sex Chromosome
พญ. ศรัญญา เต็มประเสริฐฤดี, อายุรแพทย์ โรงพยาบาลสุไหงโกลก
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
ยาที่ใช้ในระบบทางเดินหายใจ
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
The Child with Renal Dysfunction
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
บทที่ 14 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรค
Service Plan : Rational Drug Use(RDU)
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคล ด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การสื่อสารการตลาด ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล Rational Drug Use Hospital
The Child with Renal Dysfunction
Rational Drug Use (RDU)
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
Blood transfusion reaction
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The Child with Renal Dysfunction อ.นภิสสรา ธีระเนตร

วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนผู้เรียนสามารถ อธิบายการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีความผิดปกติระบบทางเดินปัสสาวะ เห็นความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความผิดปกติระบบทางเดินปัสสาวะ นำองค์ความรู้ที่ได้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีความผิดปกติระบบทางเดินปัสสาวะได้

หัวข้อการเรียนการสอน Urinary Tract Infection Pyelonephritis Cystitis Asymptomatic bacteriuria Acute Glomerulonephritis 2 Nephrotic Syndrome

1.การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract Infection) การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากภาวะติดเชื้อ เป็นการติดเชื้อที่พบบ่อยในผู้ป่วยเด็ก (หญิง 7-8% ชาย 2%)

การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ำ เกิดแผลเป็นที่ไต (renal scar) ความดันโลหิตสูง มีการเสื่อมของไตเป็น>>>ไตวายเรื้อรังในอนาคต เด็กมีการเจริญเติบโตช้าลง เป็นนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

เชื้อสาเหตุ เพศหญิง : ที่พบบ่อยที่สุดคือ Escherichia Coli ร้อยละ 75-90 รองลงมาได้แก่ Klebsiella spp. และ Proteus spp. ในเพศชายที่อายุ < 1 ปี พบ Proteus spp. เท่าๆกับ E coli Staphylococcus saprophyticus และ Enterococus spp. พบได้ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ไวรัสบางอย่างเช่น Adenovirus อาจเป็นสาเหตุของ Cystitis ได้

ปัจจัยเสี่ยง ความผิดปกติทางกายวิภาค (anatomical abnormality) ความผิดปกติจากการทำงานของกระเพาะปัสสาวะ (bladder dysfunction) ปัจจัยอื่นๆ : phimosis, labial synechiae, pin worm, constipation, encopresis , การทำความสะอาด perineum

พยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรค เป็นความผิดปกติของโครงสร้างในระบบทางเดินปัสสาวะ โดยมีปัจจัยสำคัญที่ช่วยในการป้องกันการติดเชื้อ การระบายออกของปัสสาวะที่เพียงพอ (adequate urine flow) ความปกติของเยื่อบุทางเดินปัสสาวะ (intact uroepithelium) เด็กที่มีการอุดกั้นในทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะแบคทีเรียที่ไม่สามารถเกาะติด uroepithelium

การตรวจรังสีวินิจฉัย (radiologic findings) การทำไพอีโลแกรมด้วยการฉีดสารทึบรังสีเข้าหลอดเลือด (Intravenous pyelography) การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (Computed tomography: CT)

ลักษณะทางคลินิก เด็กเล็ก : ไข้สูง ไข้ที่ไม่ทราบสาเหตุ กระสับกระส่าย ร้องไห้เวลาปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น มีกลิ่นเหม็น หรือมาด้วยอาการของระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว รับประทานได้ลดลง

ลักษณะทางคลินิก (ต่อ) เด็กโต: ไข้สูง ปัสสาวะแสบขับ ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะไม่สุด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะรดที่นอนที่มาเป็นภายหลัง (secondary enuresis) ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น ขุ่น มีตะกอน มีเลือดปนได้ มีอาการปวดหรือกดเจ็บที่บริเวณท้อง ท้องน้อย หลังหรือบั้นเอว

การวินิจฉัย การประเมินผู้ป่วยเด็กที่สงสัยว่าเป็นโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ประกอบด้วย ประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

ประวัติ ไข้ ที่ไม่มีสาเหตุแน่ชัดโดยเฉพาะในเด็กเล็กที่อายุต่ำกว่า 2 ปี ปวดหรือกดเจ็บที่บริเวณท้อง ท้องน้อย หลังหรือบั้นเอวในเด็กที่อายุมากกว่า 4-5 ปี ลักษณะของปัสสาวะ เช่น ขุ่นมีตะกอน แดง มีกลิ่นเหม็นผิดปกติ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะไม่พุ่ง ปัสสาวะต้องเบ่ง ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่ได้ หรือชอบกลั้นปัสสาวะ ปัสสาวะรดที่นอนแบบทุติยภูมิ ประวัติการถ่ายอุจจาระ เช่น ท้องผูกเรื้อรัง กลั้นอุจจาระไม่ได้ มีอุจจาระเล็ด

ประวัติ (ต่อ) ประวัติเคยมีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะมาก่อน หรือเคยมีไข้ไม่ทราบสาเหตุชัดเจนมาก่อน เลี้ยงไม่โต ในเด็กแรกเกิด อาการและอาการแสดงมักไม่จำเพาะ เช่น ไม่ดูดนม ซึม ตัวเย็น ที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อในกระแสเลือด ประวัติได้รับการวินิจฉัยขณะอยู่ในครรภ์มารดาว่ามีความผิดปกติของไต ประวัติครอบครัวมีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะบ่อยครั้ง เป็นโรคปัสสาวะไหลย้อนหรือมีความผิดปกติของไตหรือระบบทางเดินปัสสาวะ

การตรวจร่างกาย สัญญาณชีพ โดยเฉพาะ ไข้ และความดันโลหิต น้ำหนักและส่วนสูง หาก้อนในท้อง เช่น ไตที่โตขึ้น คลำได้ที่บริเวณบั้นเอว หรือจาก bimanual palpation คลำกระเพาะปัสสาวะได้เหนือหัวเหน่า คลำได้ก้อนอุจจาระในลำไส้ใหญ่ หรือก้อนเนื้อผิดปกติอื่นๆ ที่อาจอุดกั้นทางเดินของปัสสาวะ เคาะเจ็บที่ costovertebral angle หรือกดเจ็บที่เหนือหัวเหน่า

อวัยวะเพศผิดปกติ เช่น phimosis, labial adhesion, vulvovaginitis, vaginal foreign body ตรวจ motor power และ sensation เพื่อหาว่ามีขาชาหรืออ่อนแรงหรือไม่ บริเวณ lumbosacral หาความผิดปกติที่อาจมี occult myelodysplasia เช่น midline pigmentation, lipoma, vascular lesion, tuft of hair, dimple, sinus tract ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับ neurogenic bladder ถ้าประวัติและการตรวจร่างกายเข้าได้กับ neurogenic bladder ควรตรวจทางทวารหนัก เพื่อประเมินการทำงานของ rectal sphincter ด้วย

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจปัสสาวะ (urinalysis) คัดกรองเบื้องต้นโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ การเพาะเชื้อในปัสสาวะ ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติจากการตรวจปัสสาวะ (urinalysis) ทุกราย การตรวจเลือด การเพาะหาเชื้อจากเลือด (hemoculture) ควรตรวจหาระดับ BUN, Creatinine และอิเล็คโทรลัยท์ เพื่อประเมินหน้าที่การทำงานของไต การตรวจทางรังสีและการตรวจอื่นๆ

pyelonephritis ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องหรือ ปวดบั้นเอว (flank pain)ไข้สูง อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย บางรายอาจมีไข้อย่างเดียว ทารกแรกเกิดจะมีอาการ sepsis เช่น น้ำหนักลด poor feeding, irritability, jaundice acute pyelonephritis เป็นการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนที่มีการติดเชื้อที่เนื้อไตร่วมด้วย pyelitis เป็นการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนในส่วนของ pelvis โดยไม่มีการติดเชื้อที่เนื้อไต

การรักษา การแก้ไขภาวะขาดน้ำ ให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อที่พบบ่อย ควรพิจารณารับไว้รักษาในโรงพยาบาลและให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำในเด็กอายุน้อยกว่า 3 เดือนมี VUR เกรด 3-5 ค่าทำงานของไตบกพร่อง (BUN และ creatinine สูงกว่าปกติ) มีความดันโลหิตสูง มีภูมิต้านทานบกพร่อง มีอาการรุนแรง : กินได้น้อย ขาดสารน้ำ อาเจียน กินยาไม่ได้ หรือมีการติดเชื้อในกระแสเลือดร่วมด้วย

Cystitis ผู้ป่วยจะมีอาการปัสสาวะขัด (dysuria) ปวดปัสสาวะรุนแรง (urgency incontinenc) ปัสสาวะหลายครั้ง (frequency incontinenc) กดเจ็บบริเวณ suprapubic ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น มักไม่มีไข้ ภาวะนี้ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไต สาเหตุ : เชื้อ E coli และ adenovirus 11 และ 21

Interstitial cystitis มักพบในวัยรุ่นหญิง ระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะ ได้แก่ dysuria, urgency, frequency เจ็บที่บริเวณกระเพาะปัสสาวะหรือเชิงกราน อาการปวดจะดีขึ้นเมื่อได้ถ่ายปัสสาวะ การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจ cystoscope จะพบแผลที่เยื่อบุกระเพาะปัสสาวะและมีการขยายตัวของกระเพาะปัสสาวะ การรักษาประกอบด้วยการจี้บริเวณแผลด้วยเลเซอร์ และ bladder hydrodistension

Eosiophillic cystitis พบได้น้อยในเด็ก ผู้ป่วยจะมีอาการของ hemorrhagic cystitis มีการขยายของท่อปัสสาวะ หากส่งตรวจทางพยาธิวิทยาจะพบ eosinophil แทรกอยู่ในก้อนดังกล่าว การรักษาควรให้ยาในกลุ่ม antihistamine และ NSAID

การรักษาการติดเชื้อเฉียบพลัน ควรได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อป้องกันไม่ให้การติดเชื้อลุกลามไปเป็น pyelonephritis ในกรณีที่อาการรุนแรง ให้เริ่มให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อที่พบบ่อยโดยไม่ต้องรอผลการเพาะเชื้อ กรณีที่อาการไม่รุนแรงหรือยังไม่แน่ใจในการวินิจฉัยโรค อาจรอผลการเพาะเชื้อก่อนเริ่มให้ยาปฏิชีวนะ มักเป็นในรูปแบบยากิน

Asymptomatic bacteriuria ตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะโดยไม่มีอาการ พบได้น้อยกว่าร้อยละ 1 ในเด็กก่อนวัยเรียนและวัยเรียน พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ภาวะนี้มักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไตยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ที่อาจกลายเป็นการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ปัสสาวะออกน้อย และอาจมีเลือดออกในปัสสาวะ อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น ความดันโลหิตสูง นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ ไตเสียหน้าที่อย่างเฉียบพลัน เสี่ยงต่อเกิดการติดเชื้อซ้ำได้ง่าย** มีความไม่สุขสบายสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา เช่น ไข้ อ่อนเพลีย ปวดแสบปวดร้อนขณะถ่ายปัสสาวะ วิธีการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาบางอย่างที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด

ไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Glomerulonephritis) ภาวะที่มีการอักเสบเฉียบพลันของโกลเมอรูลัส ทำให้มีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้นภายในโกลเมอรูลัส เม็ดเลือดขาวและ endothelial cells ส่งผลให้เกิดอาการบวม ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตสูง ภาวะปัสสาวะมีเลือดและโปรตีน และ azotemia พบบ่อยในเด็กอายุ 2-12 ปี และพบในเด็กชาย>หญิง 2:1

สาเหตุ เกิดขึ้นหลังการติดเชื้อที่พบบ่อยคือ pharyngitis จากเชื้อ Streptococcus group A.**(post-streptococcal glomerulonephritis) หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

ตำแหน่งของการติดเชื้อก่อนปรากฏอาการ การติดเชื้อทางเดินหายใจ : ทอนซิลอักเสบ ไข้หวัด คอหอยอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบจากเชื้อ Group A β hemolytic Streptococcus การติดเชื้อที่ผิวหนัง : แผลตุ่มหนองพุพอง แผลจากการเป็นสุกใส แผลจากแมลงกัดต่อย ซึ่งมักพบเชื้อ staphylococcus

พยาธิสรีรภาพ เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลที่มีการอักเสบที่เพิ่มขึ้น และความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ (basement membrane permeability) ที่ลดลงทำให้พื้นที่การกรอง (glomerular filtration surface) และอัตราการกรอง (glomerular filtration rate: GFR) ลดลง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง

อาการทางคลินิก ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน ผู้ป่วยเด็กจะมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมที่ขาและท้องชนิดกดไม่บุ๋ม และบวมไม่มาก โดยมีปริมาณน้ำมากในหลอดเลือด ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม เด็กจะมีอาการซีด กระสับกระส่าย อ่อนเพลียมาก เด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้องและถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (dysuria)

อาการและอาการแสดง** บวมร้อยละ 85 gross hematuria ร้อยละ 25-33 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 60-80 ร่วมกับอาการอื่นๆ เช่น อาการของหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure) ซึ่งเป็นผลจากการได้รับน้ำเกินร้อยละ 20 อาการปวดท้อง พบหลัง streptococcal pharyngitis 7-14 วัน และทางผิวหนัง 14-21 วัน (อาจนานถึง 6 สัปดาห์)

หลักการวินิจฉัยโรค จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย Lab การตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว casts และอัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย หรือเพาะเชื้อไม่ขึ้น การตรวจเลือด ตรวจพบระดับ Na+, K+, Cl- ปกติหรือสูงในรายที่มีอาการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอตินิน และกรดยูริคสูง การตรวจอื่นๆได้แก่ การเพาะเชื้อจาก pharynx พบ streptococcus ในบางรายทำ renal biopsy, EKG และการถ่ายภาพรังสีเพื่อดูภาวะแทรกซ้อน

ภาวะแทรกซ้อน Hypertensive encephalopathy, Acute cardiac decompensation Acute renal failure

การรักษา ผู้ป่วยที่อาการดีขึ้น และสามารถจำหน่ายให้กลับบ้านได้ การพักผ่อน BP>150/100 มิลลิเมตรปรอท ปัสสาวะมีเลือดปน หรือมีอาการเหนื่อยหอบ >> absolute bed rest*** ผู้ป่วยที่อาการดีขึ้น และสามารถจำหน่ายให้กลับบ้านได้ **ยังจำเป็นต้องงดออกกำลังกายที่ต้องใช้แรงมากอย่างน้อย 1 ปี**

อาหารและน้ำดื่ม การจำกัดน้ำดื่ม ปัสสาวะน้อยกว่า 250 ml/m2/d หรือ<0.5-1 ml/kg/hr หรือมีภาวะ HT สูตรการคำนวณพื้นที่ผิวกาย พื้นที่ผิวกาย = 4W+7 W+90 (W = น้ำหนักตัวของผู้ป่วย) ได้เท่าไรบวกด้วยจำนวนปัสสาวะของเด็กใน 1 วัน

การรักษา(ต่อ) การจำกัดเกลือ ลดปริมาณเกลือโซเดียมและโปตัสเซียม** การจำกัดสารอาหารโปรตีนเฉพาะรายที่มี Azotemia การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ ยาขยายหลอดเลือด ยาต้านฤทธิ์ adrenalin ถ้า HT ให้ Diamox หรือ NPS ถ้ามีอาการแทรกซ้อนทางหัวใจ ให้ digitalis ATB penicillin, cephalosporin การรักษาอื่นๆ O2 , blood , PD

การดำเนินโรคและพยากรณ์โรค ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่หายเป็นปกติ โดยทั่วไปผู้ป่วยเด็กมักมีอาการดีขึ้นในราว 1 สัปดาห์ gross hematuria ควรหายไปภายใน 2-3 สัปดาห์ proteinuria ควรหายไปภายใน 3-6 เดือน microscopic hematuria ควรหายไปภายใน 1 ปี

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกในปัสสาวะ (hematuria) ความดันโลหิตสูง และเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากความดันโลหิตสูง เช่น hypertensive encephalopathy, cerebral ischemia เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน และหรืออันตรายจากสภาวะของโรคเช่น hypervolemia, hyperkalemia, pulmonary edema, renal failure มีความไม่สุขสบายสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา เช่น อาการบวม แน่นอึดอัดท้อง ไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ตาพร่ามัว และมองเห็นไม่ชัด วิธีการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาบางอย่างที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด

กลุ่มอาการโรคไต (Nephrotic syndrome : NS) ภาวะที่มีความผิดปกติของ glomerular basement membrane (GBM) เป็นเหตุให้มีไข่ขาวรั่วออกมามากผิดปกติในปัสสาวะ ทำให้ปริมาณโซเดียมในเลือดต่ำลงมากกว่าปกติร่วมกับมีอาการบวมและระดับไขมันในเลือดสูงขึ้น พบมากที่สุดในเด็กวัยก่อนเรียน

กลุ่มอาการประกอบด้วย โปรตีนในปัสสาวะสูง มี proteinuria มากกว่า 50มก/กก/วัน หรือมากว่า 40 มก./ตรม./ชั่วโมง โปรตีนในเลือดต่ำ โดยเฉพาะอัลบูมิน มีไข่ขาวในเลือดต่ำกว่า 2.5 กรัม/ดล. ไขมันในเลือดสูง มีไขมันในเลือดมากกว่า 250มก./ดล. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม

สาเหตุ ความผิดปกติที่ไต (primary renal cause) ซึ่งอาจเป็นมาแต่กำเนิด หรือไม่ทราบสาเหตุ เกิดร่วมกับโรคระบบอื่นๆ (secondary nephrotic syndrome) เช่น โรคติดเชื้อ หรือได้รับสารพิษต่างๆ

พยาธิสรีรภาพ การเปลี่ยนแปลงที่ glomerular basement membrane (GBM) ทำให้มีการรั่วของโปรตีนเพิ่มขึ้น มีอัลบูมินออกมาในปัสสาวะจำนวนมาก อาการบวม อัลบูมินในเลือดต่ำและไขมันในเลือดสูง

อาการและอาการแสดง อาการบวม 95% ต้อง adm. บวมหนังตา >>หน้า เช้า บ่ายหาย เด็กชายอาจมีอัณฑะบวม ท้องเสีย การเจริญเติบโตช้า เด็กจะตัวเตี้ย แขนขาลีบเล็ก เนื่องจากมีการสูญเสียโปรตีนอย่างเรื้อรังร่วมกับมีอาการเบื่ออาหาร

หลักการวินิจฉัยโรค จากประวัติ อาการ การตรวจร่างกายอย่างละเอียด และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจปัสสาวะ โดยการตรวจหาโปรตีน การตรวจเลือด ตรวจพบซีรั่มอัลบูมินต่ำกว่า 2.5 มก./ดล. ซีรั่มโคลเลสเตอรอลสูงประมาณ 450-1500 มก./ดล. ค่า ฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริตพบว่าปกติหรืออาจสูงเล็กน้อย ซีรั่มโซเดียมปกติหรือต่ำ พบ fribrinogen และ factor V, VII VII , X เพิ่มขึ้นทำให้เลือดแข็งตัวได้ง่าย การตรวจชิ้นเนื้อของไต (renal biopsy)

ภาวะแทรกซ้อน Hypovolemia การติดเชื้อ Thrombosis ไตวายเฉียบพลัน ไตวายเรื้อรัง การเจริญเติบโตและภาวะพร่องฮอร์โมนอื่น

การรักษา การรักษาทั่วไป อาหาร ผู้ป่วยเด็กควรได้โปรตีนที่มีคุณภาพดีร้อยละ 130-140 ของความต้องการปกติในแต่ละวันตามอายุ และได้แคลอรีตามอายุ

รักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย 1.2.1 ภาวะขาดน้ำในหลอดเลือด 1.2.2 ผู้ป่วยที่มีภาวะบวมมาก 1.2.3 thromboembolism 1.2.4 การติดเชื้อ 1.2.5 ไตวายเฉียบพลันและเรื้อรัง 1.2.6 ความดันโลหิตสูง 1.2.7 การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล เรื่องอาหาร ยา การปฏิบัติตัว และการป้องกันโรคแทรกซ้อน

การรักษาจำเพาะ (specific treatment) 2.1 การให้ยาสตีรอยด์ 2.2 การให้ยากดภูมิต้านทานชนิดอื่น เช่น cyclosporine, levamisole หรือ ยาในกลุ่ม alkylating agents เช่น cyclophosphamide, chlorambucil หรือ cyclosporine

การดำเนินโรคและพยากรณ์โรค ตัวบ่งชี้ถึงการพยากรณ์โรคที่ดีที่สุดคือ การตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาสตีรอยด์ ในผู้ป่วยเด็ก NS ที่ตอบสนองกับยาสตีรอยด์ร้อยละ 60-80 กลับเป็นซ้ำอีก ร้อยละ 60 ของเด็กกลุ่มนี้มีการกลับเป็นซ้ำมากกว่า 5 ครั้ง ผู้ป่วยที่มีโอกาสกลับเป็นซ้ำน้อยได้แก่ เริ่มมีอาการป่วยเมื่ออายุน้อยกว่า 4 ปี และหลังได้รับยาสตีรอยด์ โปรตีนในปัสสาวะหายไปใน 7-9 วัน และไม่พบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล มีภาวะขาดสารอาหารโดยเฉพาะโปรตีน เกิดการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินปัสสาวะและไต มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์ในร่างกาย (hypovolemic, hypokalemia) มีความดันโลหิตสูง และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง มีความไม่สุขสบายสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา เช่น อาการบวม (โดยเฉพาะที่หนังตา ท้อง และอวัยวะสืบพันธุ์) เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย การแตกคันของผิวหนัง

ตารางเปรียบเทียบ AGN กับ NS ข้อมูล AGN NS 1. อายุ 2-12 ปี 3-7 ปี 2. เพศชาย:เพศหญิง 2:1 3. สาเหตุ หลังการติดเชื้อ Group A β -streptococcus Viral URI, Unknown 4. ระยะเวลาก่อนเริ่มอาการ 2-3 สัปดาห์ 2-3 วัน 5. อาการบวม เกิดเฉียบพลัน ไม่เคยบวมมาก่อน เกิดขึ้นซ้ำๆ อาจเคยบวมมาก่อน 6. ลักษณะการบวม บวมที่หนังตาและทั่วตัว กดไม่บุ๋ม (nonpitting edema) มี pleural effusion, pulmonary congestion, cardiomegaly บวมมาก กดบุ๋ม (pitting edema) มี ascites ชัดจน 7. ความดันโลหิตสูง เกือบทุกราย เป็นบางราย, สูงชั่วคราว 8. blood for β,C ต่ำในระยะแรก ปกติ

ตารางเปรียบเทียบ AGN กับ NS (ต่อ) ข้อมูล AGN NS 9. การคั่งในระบบไหลเวียน พบได้บ่อย ไม่พบ 10. Proteinuria เล็กน้อย-ปานกลาง (moderate) พบมาก (massive) 11. Hematuria Gross hematuria/microscopic hematuria/numerous RBC บางรายและชั่วคราว Microscopic hematuria/none 12. cast Granular, RBC Hyaline, granular, fatty 13. Azothemia พบได้ 14. Serum Potassium เพิ่มขึ้น ปกติ 15. serum cholesterol ปกติหรือสูงเล็กน้อย สูงกว่า 250 mg% 16. Serum total protein& Albumin protein ค่อนข้างปกติ, ต่ำเล็กน้อย ต่ำกว่า 4 mg% Albumin < 2.5 mg% 17. การรักษา ตามอาการ บางรายอาจให้ยาปฏิชีวนะ รักษาด้วย corticosteroid

Any Question???