การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
บทที่ 11 การใช้งาน Namespace อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact)
Engineering Mechanics
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การใช้งาน Microsoft Excel
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
อยากให้เธออยู่ตรงนี้
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion)
ความเค้นและความเครียด
การบริหารโครงการ Project Management
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
DC Voltmeter.
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
Visual Communication for Advertising Week2-4
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
แรงและการเคลื่อนที่.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
แผ่นดินไหว.
ความหนืด (viscosity) - 
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 แสงและทัศนะศาสตร์ Witchuda Pasom.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ความดัน (Pressure).
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ 2 แนวพร้อมกัน คือแนวระดับและแนวดิ่ง ซึ่งพบว่าความเร็วต้นทางแนวระดับ ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง โดยดูได้จากการตกของวัตถุที่ปล่อยและวัตถุที่ถูกดีด ถ้าดีดแรงตกไกล ดีดเบาตกใกล้ แต่จะตกถึงพื้นพร้อมกับวัตถุที่ปล่อยให้ตกในแนวดิ่ง ณ จุดเริ่มต้น -เดียวกัน แสดงว่า การเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ดังนั้น จึงแยกคิดการเคลื่อนที่เป็นอิสระต่อกัน 2 แนว ux vx vy v

การเคลื่อนที่ในแนวระดับของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่อยู่ในอากาศจะมีแรงดึงดูดของโลก (mg)กระทำเพียงแรงเดียวเท่านั้น โดยในแนวระดับ แรงกระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ (F=0) จาก Fx = max เมื่อ Fx = 0 ดังนั้น ax = 0 ผลก็คือ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (vx = ux) ดังนั้น สมการในการเคลื่อนที่ในแนวระดับ คือ Sx = ux.t เมื่อ Sx = การกระจัดในแนวระดับ ux = ความเร็วในแนวระดับ t = ช่วงเวลาของการเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ ในขณะที่วัตถุอยู่ในอากาศ จะมีแรงดึงดูดของโลก (mg) กระทำเพียงแรงเดียว ดังนั้น ความเร่งของวัตถุในแนวดิ่ง ay จึงเท่ากับ g การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโปรเจคไตล์ ในแนวดิ่ง จะเหมือนกับวัตถุที่ตกอย่างอิสระทุกประการ ดังนั้นสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่งคือ 1.Vy = uy + ay.t 3.Sy = uy.t + ½ ay.t2 โดยที่ ay = g 4.vy2 = uy2 + 2aysy

การหาการกระจัดและความเร็ว ณ ตำแหน่งต่างๆของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ ux A  sAB sy B c sx จากรูปถ้าต้องการหาการกระจัด A ถึง B (SAB) sx = การกระจัดของวัตถุในแนวระดับ (c B) sy = การกระจัดของวัตถุในแนวดิ่ง (A c) จะได้ว่า ทิศของsAB หาได้จาก เมื่อ  เป็นมุมที่ SAB ทำกับแนวระดับ สรุป การหาการกระจัดของวัตถุเราต้องรู้ sx,sy ซึ่งหาได้จากสมการการเคลื่อนที่ในแต่ละแนว

Vx = ความเร็วในแนวระดับ ณ จุด B ux A B vx  vy vB จากรูป ถ้าต้องการหาความเร็ว ณ จุด B (vB) ซึ่งอยู่ในแนวเส้นสัมผัสกับส่วนโค้ง ณ จุด B Vx = ความเร็วในแนวระดับ ณ จุด B Vy = ความเร็วในแนวดิ่ง ณ จุด B ดังนั้น จะได้ว่า ทิศของvB หาได้จาก เมื่อ  เป็นมุมที่ vB ทำกับแนวระดับ สรุป การหาความเร็วของวัตถุเราต้องรู้ vx,vy ซึ่งหาได้จากสมการการเคลื่อนที่ในแต่ละแนว

ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ แบบทั่วไปๆ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ แบบทั่วไปๆ 1.มีเฉพาะความเร็วต้นในแนวระดับเพียงแนวเดียว ดังรูป ก 2.มีความเร็วต้นทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง ดังรูป ข และ ค u ux  u uy uy  รูป ก รูป ข ux รูป ค การคำนวณหาปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ เหมือนดังที่กล่าวมาข้างต้น รูป ก ay = g , uy = 0 รูป ข ay = g , ux = ucos , uy = usin รูป ค ay = - g , ux = ucos , uy = usin

สรุปเงื่อนไขการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ 1.วัตถุต้องมีการเคลื่อนที่อย่างอิสระ มีแรงดึงดูดของโลก mg กระทำเพียงแรงเดียว 2.ต้องมีความเร็วต้นในแนวระดับ(ux) ส่วนในแนวดิ่ง(uy) จะมีหรือไม่ก็ได้ โดยความเร็วในแนวระดับคงที่เสมอ 3.เวลาที่ใช้ในการเกิดการกระจัดจากจุดหนึ่งถึงจุดหนึ่ง ในแนวระดับ (x) เท่ากับในแนวดิ่ง (y) 4.ณ จุดสูงสุดของโปรเจคไตล์ ความเร็ว vy =0 แต่ vx = ux ดังนั้นความเร็ว ณ จุดสูงสุดจึงเท่ากับ ux 5.การพิจารณาปริมาณในแนวดิ่ง ถ้ามีทิศลงเพียงทิศทางเดียว ay = g แต่ถ้ามีการเคลื่อนที่ 2 ทิศทาง มีขึ้นและมีลง ay = - g 6.สมการการคำนวณ เหมือนการเคลื่อนที่ในแนวตรงทุกประการ

เมื่อได้ t ก็มาหา อัตราเร็ว ux จากสูตร ตัวอย่างที่1 เมื่อปาวัตถุออกไปในแนวระดับจากที่สูง 80 เมตร ปรากฏว่าวัตถุตกห่างจากจุดปาในแนวราบ 20 เมตร จงหาอัตราเร็วของวัตถุที่ปาออกไป วิเคราะห์โจทย์ เราควรเขียนรูปแสดงการเคลื่อนที่ พร้อมใส่รายละเอียด วิธีทำ เมื่อรู้ Sy = 80 m, Sx = 20 m, Uy = 0 , ay = 10 m/s2 ต้องการหา ux แต่เราต้อง หา t แนวดิ่งก่อน จาก Sy = uyt + ½ ayt2 ux แทนค่า 80 = 0 + ½ (10)t2 t = 4 S 80 m เมื่อได้ t ก็มาหา อัตราเร็ว ux จากสูตร จาก Sx = uxt 20 m แทนค่า 20 = ux(4) ดังนั้น ux = 5 m/s

t2 + 3t – 10 = 0 จาก sy = uyt + ½ ayt2 แทนค่า 50 = usin37๐t + ½ (10)t2 ตัวอย่างที่ 2 ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนดาดฟ้าตึกสูง 50 เมตร แล้วปาก้อนหินออกไปในแนวทำมุม 37 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 25 m/s ก. นานเท่าไร ก้อนหินตกถึงพื้น ข.ก้อนหินตกห่างจากตัวตึกเท่าไร วิเคราะห์โจทย์ เขียนรูปแสดงการเคลื่อนที่ พร้อมใส่รายละเอียด เมื่อรู้ว่า u = 25 m/s และ ux =ucos37๐ , uy = usin 37๐ ay = 10 m/s2 , sy = 50 m ก.หาเวลา t ในแนวดิ่ง วิธีทำ จาก sy = uyt + ½ ayt2 ux 37๐ แทนค่า 50 = usin37๐t + ½ (10)t2 U=25m/s 50 = 25(3/5)t + 5t2 uy 50 m 5t2 + 15t – 50 = 0 t2 + 3t – 10 = 0 (t+5) (t-2) = 0 ดังนั้นก้อนหินตกถึงพื้น เมื่อเวลาผ่านไป t = 2 s

ดังนั้น ก้อนหินตกห่างจากตัวตึก 40 เมตร ข.หาระยะที่ก้อนหินตกห่างจากตัวตึก จาก sx = uxt = ucos37๐ t แทนค่าลงไป จะได้ = 25 x 4 / 5 x 2 Sx = 40 m ดังนั้น ก้อนหินตกห่างจากตัวตึก 40 เมตร